พระพรหมบัณฑิต (ประยูร ธมฺมจิตฺโต)

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา 

วัน/เดือน/ปี ที่ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ : ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙

ประวัติ : ชื่อ พระพรหมบัณฑิต ฉายา : ธมฺมจิตฺโต

นามเดิม : ประยูร นามสกุล : มีฤกษ์

เกิด : วันเสาร์ที่ ๑๗ กันยายน พ.ศ.๒๔๙๘ อายุ ๖๑ ปี

สัญชาติ : ไทย ศาสนา : พุทธ

ที่อยู่ปัจจุบัน : วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร ถนนประชาธิปก แขวงวัดกัลป์ยาณ์ เขตธนบุรี กทม. ๑๐๖๐๐

บรรพชาอุปสมบท : บรรพชาเป็นสามเณร เมื่อวันที่ ๑๙ มีนาคม พ.ศ.๒๕๐๙ ณ วัดสามจุ่น อําเภอศรีประจันต์ จังหวัดสุพรรณบุรี มีพระครูศรีคณานุรักษ์วัดดอนบุบผาราม เป็นพระอุปัชฌาย์อุปสมบทเป็นพระภิกษุ เมื่อวันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ.๒๕๑๙ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร มีสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ฟื้น ชุตินฺธรมหาเถร) วัดสามพระยา กรุงเทพมหานคร เป็นพระอุปัชฌาย์ พระธรรมปิฎก (นิยม ฐานิสฺสรมหาเถร ต่อมาเป็นที่สมเด็จพระมหาธีราจารย์) วัดชนะสงคราม กรุงเทพมหานคร เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระธรรมธีรราชมหามุนี (ช่วง วรปุญฺญมหาเถร ปัจจุบันคือ สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์) วัดปากน้ํา กรุงเทพมหานคร เป็นพระอนุสาวนาจารย์

สมณศักดิ์
– ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ที่ พระเมธีธรรมาภรณ์ วันที่
๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๒
– ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นราช ที่ พระราชวรมุนี ตรีปิฎกบัณฑิต
มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี วันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๓๙
– ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ที่ พระเทพโสภณ วิมลปริยัติ
กิจตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี วันที่ ๒ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๔๓
– ได้รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ที่ พระธรรมโกศาจารย์ สุนทร
ญาณดิลก สาธกธรรมวิจิตร ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี วันที่ ๕ ธันวาคม
พ.ศ.๒๕๔๘
– ได้รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์ เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัญบัฏที่พระพรหม
บัณฑิต สิทธิวรธรรมประยุต วิสุทธิศีลาจารนิวิฐ ไพศาลวิเทศศาสนกิจดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร
บวรสังฆาราม คามวาสี วันที่ ๕ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๕

ดูประวัติเพิ่มเติม : พระพรหมบัณฑิต

นายคมสันฐ หัวเมืองลาด

นายคมสันฐ หัวเมืองลาด

ปริญญา : ศิลปกรรมศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชานาฏยศิลป์  

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ 

สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ (สมศักดิ์ อุปสโม)

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษา 

วัน/เดือน/ปี ที่ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ :๒๖ พฤษภาคม ๒๕๕๙ 


ชื่อ :​ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์​

นามเดิม :​ สมศักดิ์ ชูมาลัยวงศ์​ ฉายา :​ อุปสมมหาเถระ​

เกิด :​ วันอาทิตย์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2484 ​

สัญชาติ​ : ไทย​ ศาสนา : พุทธ

ที่อยู่ปัจจุบัน :​ วัดพิชยญาติการาม วรวิหาร (วัดพิชัยญาติ) ​เลขที่ ๓๒ ถนนสมเด็จเจ้าพระยา ซอย ๒ ​แขวงสมเด็จเจ้าพระยา เขตคลองสาน ​กรุงเทพมหานคร ๑๐๖๐๐​

สมณศักดิ์
พ.ศ. ๒๕๐๖​ – พระศรีสุทธิพงศ์​

พ.ศ. ๒๕๓๑​ – พระราชาคณะชั้นราชที่ พระราชปริยัติโมลี​

พ.ศ. ๒๕๓๖​ – พระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพปริยัติโมลี​

พ.ศ. ๒๕๔๑​ – พระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมโมลี ​

พ.ศ. ๒๕๔๘​ – เจ้าคณะรองชั้นหิรัณยบัฏที่ พระพรหมโมลี ​

พ.ศ. ๒๕๕๔ – สมเด็จพระราชาคณะชั้นสุพรรณบัฏที่ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์​

พ.ศ. ๒๕๕๖​ – ได้รับถวายสมณศักดิ์ อัครมหาบัณฑิต ณ มหาศาสนวิมาน ​อุปปาตสัติเจดีย์ กรุงเนปิดอร์ โดย รัฐบาลสหภาพเมียนมาร์

ดูประวัติเพิ่มเติม : สมเด็จพระพุทธชินวงศ์

Mahasaraswati University of Denpasar

รายละเอียดการทำความร่วมมือ

2012

  • Faculty of Teacher Training UNMAS
  • Faculty of Agriculture UNMAS
  • Faculty of Dentisty UNMAS and Faculty of Science and Technology
  • Faculty of Economics UNMAS
  • Faculty of Agriculture UNMAS
  • Faculty of Engineering, UNMAS and Faculty of Sciences and Technology
  • Faculty of Law UNMAS and Faculty of Humanities and Social Sciences
  • Post Graduate Program UNMAS

2015 (2558)

2018 (2561)

2021 (2564)

Upload Image...
Upload Image...
Upload Image...
Upload Image...
Upload Image...

นางสถาพร สนทอง

ufemnzBgxzqURQRV7fUpk-MO4SS4gI9uSxmP3V1dAbhDuvSAmh-rQ7ft4bMggDjFs0HGnSUE4uDzrYv8zNmbkiRNhruNaO8NRah4oFzldtkfrQufcqYayMLF8jAaZap2t5yO9IbY_kHrsoL0pr19dix6EFzzXg3xab0eifY0oBQjFLeOmQI9IcLTM-6cZLJK7ROklfgAoKLvHSgfZlHizYBNmM7LU_2yuctqScPrRdNd_yrbc72-Sz170T8xeeH_C2l55jpr-TanNXIleWq6SA1u5YOyB2W49da9TuyIPHGMrZ9LuCgmO4TiKopW9pWxQ5_D_g80MSR2MKk (181×185)

นางสถาพร  สนทอง 

ปริญญา : ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๑๔ พฤษภาคม ๒๕๕๗ 

Dr.Jose Sulaiman chignon

Dr.Jose Sulaiman chignon

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการเทคโนโลยี 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ 

วัน เดือน ปีเกิด : 30 พฤษภาคม 1931

สถานที่เกิด : Victoria, Tarnaulipas, Mexico

สถานภาพ : สมรส มีบุตร 6 คน

ตําแหน่ง :

ประธานสหพันธ์มวยโลก (161 ประเทศ) ตั้งแต่ปี 1975

CEO ของสถาบันธุรกิจหลายแห่ง

ประธานสหพันธ์และพิพิธภัณฑ์แห่งการกีฬาแมกซิกัน ตั้งแต่ปี 1998

ผู้บริหารธุรกิจและกฎหมายธุรกิจ ดํารงตําแหน่งสําคัญในสถาบันการศึกษา Institute and Escuela Superior de Comercio,

ประวัติการศึกษา :

ปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขามนุษยศาสตร์ Newport University of California, Campus Mexico, 1997

ปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขามนุษยศาสตร์และปรัชญา London Institute of Technology & Research, 1998

ปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขาวัฒนธรรมทางวัตถุ Russian State Academy of Physical Culture, Moscow, 1999

ปริญญาเอกกิตติมศักดิ์ สาขามนุษยศาสตร์ฯ American Sports University, San Bernardio, California, 2008

รางวัลที่ได้รับ :

ได้รับรางวัลระดับนานาชาติกว่า 32 รางวัล อาทิ

– รางวัลด้านมนุษยชน จากกษัตริย์ฮวน คาลอส แห่งสเปน 1977

– เครื่องราชอิสริยาภรณ์ จาก รัชกาลที่ 9 แห่งประเทศไทย 1993

– รางวัลบุคคลแห่งปี ประเทศแมกซิโก 2001

– รางวัลเกียรติยศแห่งวงการกีฬา จากทั้งสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก ประเทศไทย ลาตินอเมริกา แอฟริกาใต้

นอกจากนั้น ยังได้รับเกียรติจากประมุขของประเทศต่างๆ จํานวนมาก (เช่น ประเทศไทย อาร์เจนตินา สหรัฐอเมริกา แอฟริกาใต้ สเปน เม็กซิโก เลบานอน เนปาล ปานามา นิการากัว ตูนิเซีย เซเนกัล เกาหลี เวเนซุเอลา รัสเซีย โครเอเชีย) อาทิ
1. รัชกาลที่ 9 ประเทศไทย

2. Pope John Paul II

3. ประธานาธิบดีเรแกน สหรัฐอเมริกา

4. กษัตริย์ Juan Carlos ll สเปน

5. ประธานาธิบดี Giscard D’Estaing ฝรั่งเศส

คุณูปการในวงการมวยโลก :

ในฐานะผู้นําของสมาชิกจากทั่วโลกในสภามวยโลก ท่านได้ริเริ่มงานที่เป็นประโยชน์ อาทิ

– การประชุมการแพทย์โลกครั้งแรก จาก 83 ประเทศ และแพทย์กว่า 300 คน, 1997

– บริจาคเงินแก่ UCLA กว่า 1,000,000 ดอลล่าร์ เพื่อการวิจัยทางการแพทย์

– การริเริ่มรูปแบบการแข่งขันใหม่แก่วงการมวย อาทิ การลตรอบการชกจาก 15 ยก เป็น 12 ยก การกําหนดเกณฑ์การควบคุมน้ำหนักก่อนการแข่งขันใหม่ เพื่อป้องกันนักมวยจากการสูญเสีย น้ำหนักมากเกินไป และอาการขาดน้ำ

กิจกรรมที่ผ่านมาอื่นๆ :

ประธานขององค์กรต่างๆ อาทิ

– ประธานอนุกรรมการด้านสังคมของ UN ใน Tamaulipas

– ประธานลึกเบสบอล Tarnaulipas

– ที่ปรึกษากาชาดแห่ง Tamaulipas

– ศาสตราจารย์ด้านการบริหารธุรกิจ การบัญชี และกีฬา

– ประธานบริหารองค์กรด้านกีฬาต่างๆ

ดูประวัติเพิ่มเติม : Dr.Jose Sulaiman chignon

Dr.John Martyn Renner

ดร.จอห์น  เร็นเน่อร์ 

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๑๘ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ 

พระเทพภาวนาวิกรม (ธงชัย ธมฺมธโช)

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาการบริหารการศึกษา 

วัน/เดือน/ปี ที่ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ : ๒๑ ตุลาคม ๒๕๕๓ 

Zahi Hawass

นายซาฮี  ฮาวาส 

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาการจัดการนวัตกรรมและเทคโนโลยี 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๒

ดร.ซาฮี ฮาวาส ถือเป็นนักโบราณคดีที่มีชื่อเสียงระดับโลก ปัจจุบันดํารงตําแหน่งเลขานุการสภาสูงสุด แห่งโบราณวัตถุและผู้อํานวยการขุดหาโบราณวัตถุแห่งกิซ่า ซาค์คาราและบาฮาริยา โอเอซิส

ดร.ฮาวาส ได้รับทุนฟุลไบรท์เพื่อศึกษาต่อในสหรัฐอเมริกาโดยสําเร็จดุษฎีนิพนธ์ด้านอียิปต์วิทยาจาก มหาวิทยาลัยเพนนินซิลเวอร์เนียตั้งแต่ปี ค.ศ. 1987 ต่อมาได้เขียนบทความวิชาการจํานวนมากและได้รับยกย่อง สูงสุดในฐานะนักอียิปต์วิทยา

ดร.ฮาวาส ได้เข้าร่วมค้นพบโบราณวัตถุสําคัญๆ จํานวนมาก ทั้งนี้รวมถึงบรรดาหลุมศพของผู้ก่อสร้าง พีระมิดที่กิซา และยังค้นพบเกี่ยวกับการก่อสร้างพีระมิดหลายแห่งโดยท่านเป็นผู้ค้นพบพีระมิดประจํา ฟาโรห์คูฟูจึงทําให้เกิดการเปิดเผยความลับเบื้องหลังสิ่งที่อาจเรียกว่าประตูทางเข้าภายในพิระมิด นอกจากนี้ยังได้ ค้นพบหุบเขาแห่งมัมมีทองคํา (Valley of the Golden Mummies) จากการขุดซากโบราณวัตถุที่บาฮาริยา โอเอซิส ซึ่งคาดว่าจะเป็นพระเจ้าตุลในช่วงสมัยกรีก-โรมัน อีกทั้งยังได้เป็นผู้ค้นพบหลุมศพของผู้ว่าการแห่งบาฮาริยาและ ครอบครัวซึ่งอยู่ข้างใต้บริเวณบ้านเรือนในเมืองอัล-บาวิตี การค้นพบในครั้งนี้ถือเป็นการผจญภัยอันน่าอัศจรรย์ใจ ที่สุดเรื่องหนึ่งในด้านโบราณคดี การขุดซากโบราณวัตถุในแถบซาค์คารานําไปสู่การค้นพบด้านโบราณคดีที่สําคัญใน บริเวณโดยรอบพีระมิดเตติ อีกหลายประการ อาทิ หลุมศพของแพทย์คาร์ และ “พีระมิดแบบไร้ยอด” ดร.อาวาส ได้นําคณะทํางานชาวอียิปต์เข้าไปสํารวจความลึกลับของมัมมี่แห่งพระเจ้าตุลโดยใช้วิธีซีทีสแกน นอกจากนี้ ดร.ฮาวาส ยังได้บรรยายถึงการค้นพบสิ่งต่างๆ นั้นต่อผู้ฟังระดับสาธารณชนและสื่อมวลชนทั่วโลก รวมถึงการถวาย รายงานต่อพระราชา พระราชินีพระองค์ต่างๆ ด้วย

ดร.ฮาวาส เป็นผู้ให้ความสําคัญเรื่องการอนุรักษ์และปกป้องโบราณสถานต่างๆ ในอียิปต์เป็นอันมาก โดยดําเนินการโครงการอนุรักษ์ขนาดใหญ่เช่นการจัดทําที่ตั้งของสปิ้งซ์ได้เป็นผลสําเร็จและกําลังดําเนินจัดทํา แผนการจัดการพื้นที่โบราณสถานต่างๆ จํานวนมาก อาทิ พื้นที่เหมืองโอเบลิสก์ที่ยังไม่สมบูรณ์ในอัสวันและ วัดต่างๆ ในพื้นที่คอม ออมโบ เอ็ดฟูและเด็นเดรา ปัจจุบันได้ดําเนินการกําหนดแผนบริหารจัดการพื้นที่บริเวณ ลูซอร์ กิซา และซาค์คารา ได้เป็นผลสําเร็จ

ดูประวัติเพิ่มเติม : ดร.ซาฮี ฮาวาส

นายสมทรง แสงตะวัน

นายสมทรง แสงตะวัน

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๒