นายประภุสสร เสวิกุลิ (ศิลปินแห่งชาติ)

ประวัติ นายประภุสสร เสวิกุลิ (ศิลปินแห่งชาติ)  

นักคิด นักเขียน และนักการทูต 

ศิษย์เก่าโรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

ประวัติย่อ 

เกิดวันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2491

ที่กรุงเทพมหานคร 

ศิษย์เก่า 

  • ป. 1-ม. 6 โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 
  • รัฐศาสตร์บัณฑิต (มส ธ.) สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศและการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ  
  • ประกาศนียบัตรขันสูงหลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูง (ปปร.) รุ่นที่ 8 สถาบันพระปกเกล้า 

สมรส 

สมรสกับคุณชุติมา (วรฉัตร) เสวิกุล นักเขียนสารคดี นามปากกา นิลุบล นวเรศ และเรื่องสั้นนามปากกา นริศรา มีบุตร 2 คนคือ 

นายชาครีย์นรทิพย์ เสวิกุล นักการทูตชำนาญการ เลขานุการเอก สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเตหะราน และนักเขียน นามปากกา ชาครีย์นรทิพย์ 

นายวรุตม์ชัย เสวิกุล เว็บมาสเตอร์ www.psevikul.com 

ผลงานด้านวรรณกรรม 

เริ่มเขียนบทกวีเมื่อ พ.ศ. 2505 เรื่องสั้น พ.ศ. 2513 และนวนิยายในปี พ.ศ. 2525 จนถึงปัจจุบันมี 200 บทเรื่องสั้น 150 เรื่องและนวนิยาย 55 เรื่องโดยได้รับรางวัลทางผลงานด้านบทกวีประมาณวรรณกรรมหลายรางวัลอาทิ  

  • พ.ศ. 2520 เรื่องสั้น“ อีกวันหนึ่งของครับ” ได้รับรางวัลดีเด่นรางวัลอนุสรณ์ว. ณ ประมวญมารคออก  
  • พ.ศ. 2521 เรื่องสั้น“ อีกวันหนึ่งของตน” ได้รับรางวัลเรื่องสั้นดีเด่นจากสมาคมภาษาและหนหนังสือแห่งประเทศไทยฯ  
  •  พ.ศ. 2525 นวนิยายเรื่อง“ อำนาจ” ได้รับรางวัลชมเชย (ปีนี้ไม่มีรางวัลดีเด่น) จากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ sa FUS  
  • พ.ศ. 2531 นวนิยายเรื่อง“ เด็กชายมะลิวัลย์” ได้รับรางวัลดีเด่นประเภทบันเทิงคดีจากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ  
  • พ.ศ. 2532 นวนิยายเรื่อง“ ซื้อ” ได้รับรางวัลดีเด่นประเภทนวนิยายจากคณะกรรมการพัฒนาในม่วงหนังสือแห่งชาติ 
  • พ.ศ. 2533 รวมเรื่องสั้น“ ครีบหัก” ได้รับรางวัลชมเชยจากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติและนวนิยายเรื่อง“ ลอดลายมังกร” ได้รับรางวัลชมเชยจากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ 
  • พ.ศ. 2534 นวนิยายเรื่อง“ ขอหมอนใบนั้น … ที่เธอฝันยามหนุน” ได้รับรางวัลชมเชยจากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งและนวนิยายเรื่อง“ ซื้อ” ได้รับรางวัลชมเชยจากสำนักงาน 
  •  พ.ศ. 2534 นวนิยายเรื่องได้รับรางวัลชมเชยรางวัลวรรณกรรมบัวหล 
  • พ.ศ. 2537 นวนิยายอ. มาลายัน” ได้รับรางวัลชมเชยจากคณะกรรมพัฒนาหนังแห่งชาติ 
  • พ.ศ. 2541 นวนิยายเรือสำเภาทอง” ได้รับรางวัลชมเชยจากคณะก, การพัฒนาหนังสือแห่งชาติ 
  •  พ.ศ. 2547 นวนิยายเรื่อง“ พระจันทร์ทะเลทราย” ได้รับรางวัลชมเชยจากคณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ 
  • พ.ศ. 2548 เรื่องสั้น“ หัวกระโหลกสองใบ” ได้รับรางวัลชมเชยเรื่องสั้นดีเด่นประจำปี 
  • พ.ศ. 2549 เรื่องสั้น“ หัวกะโหลกสองใบ” ได้รับรางวัลชมเชยเรื่องสั้นดีเด่นประจำปีภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยฯ พัฒนาหนังสือแห่งชาติ 
  • พ.ศ. 2550 รวมเรื่องสั้น“ จดหมายจากชายชราตาบอด” ได้รับรางวัลชมเชยจากคณะกรรมการ 
  • พ.ศ. 2550 นวนิยายเรื่อง“ ผีเสื้อและหิ่งห้อย” ได้รับรางวัลชมเชย (ปีนี้ไม่มีรางวัลดีเด่น) คณะกรรมการพัฒนาหนังสือแห่งชาติ 

จากนวนิยายที่ได้รับการสร้างเป็นภาพยนตร์และละครโทรทัศน์ 

  •  ช่อปาริชาติ • ลอดลายมังกร (2 ครั้ง 
  • เวลาในขวดแก้ว (3 ครั้ง) • อำนาจ 
  • ขอหมอนใบนั้น…ที่เธอฝันยามหนุน (3 ครั้ง)  • ซึ่งตั้ง 
  • ขอให้รักเรานั้นนิรันดร
  • สําเภาทอง บ้านก้านมะยม 

ผลงานที่ได้รับเลือกเป็นหนังสือดีสำหรับเด็กและเยาวชน  

หนังสือดี 100 ชื่อเรื่องที่เด็กและเยาวชนไทยควรอ่านของสำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย พ.ศ. 2540 

  • เวลาในขวดแก้ว   

500 เล่มหนังสือสําหรับเด็กและเยาวชนของสมาพันธ์องค์กรเพื่อพัฒนาหนังสือและการอ่าน พ.ศ. 2542  

  • อำนาจ
  • ลอดลายมังกร 
  • เวลาในขวดแก้ว •หิมาลายัน 
  • เด็กชายมะลิวัลย์ •สำเภาทอง 

หนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน  

  • เวลาในขวดแก้ว 

หนังสือ 101 เล่มในดวงใจนักเขียนและนักอ่านเมื่อ พ.ศ. 2553  

  • เวลาในขวดแก้ว 

หนังสือหลายเล่มได้รับการประกาศให้เป็นหนังสืออ่านนอกเวลา 

  • เด็กชายมะลิวัลย์เวลาในขวดแก้วขอหมอนใบนั้นที่เธอฝันยามหนุน ฯลฯ 

หนังสือนำร่องโครงการต่อยอดการอ่านให้กับนักเรียนชั้นมัธยมปลายนิสิตนักศึกษา  

ได้แก่ 60 เรื่องสั้นประภัสสรเสวิกุล, แกมกลิ่นสุคนธา, ซึ่งตึง, บ้านก้านมะยม, มงกุฎดาริกา, ม่านมรสุม, ลอดลายมังกร, สำเภาทอง, เหลื่อมไหมลายเหมย, ถนนสายใบไม้ร่วง, ขอหมอนใบนั้น … ที่เธอฝันยามหนุนและหนังสือในโครงการวรรณกรรมเพื่ออาเซียน “จะฝันถึงเธอทุกคืนที่มีแสงดาว”  

หนังสือที่ได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ  

  • เรื่องสั้นหลายเรื่องได้รับการแปลเป็นภาษาต่างประเทศเช่นอังกฤษเยอรมันตุรกีและสเปน 
  • รวมเรื่องสั้น“ เรือกระดาษ” ได้รับการแปลเป็นภาษาสเปนในชื่อ“ Barcos de Paper” จัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์ใน•ประเทศชิลีเพื่อจำหน่ายยังประเทศต่าง ๆ ในอเมริกาใต้ 
  • รวมเรื่องสั้น“ จดหมายจากชายชราตาบอด” ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษในชื่อ“ Letter from a Blind Old Man ” 
  • นวนิยาย“ เวลาในขวดแก้ว” ได้รับการแปลเป็นภาษาอังกฤษในชื่อ“ Time in the bottle รวมทั้งได้รับการแปลเป็นภาษาญี่ปุ่นและเวียดนามในชื่อ“ Chai The Gian  

ผลงานและกิจกรรมในปัจจุบัน 

  • ปัจจุบันมีนวนิยายลงพิมพ์ในนิตยสาร“ ขวัญเรือน” กับ“ สกุลไทย 
  • เขียนคอลัมน์วันเว้นวันจันทร์พุธศุกร์ในหนังสือพิมพ์คมชัดลึก 
  • ร่วมจัดรายการวิทยุการเดินทางของความคิดกับสรรเสริญปัญญาธิวงศ์ทางคลื่น 96.5 เอฟเอมของอสมท. ทุกคืนวันพุธเวลา 21.00-22.00 น.  
  • จัดรายการวิทยุ“ โลกและชีวิตกับประภัสสรเสวิกุล” ทางวิทยุศึกษาคลื่น 92 เอฟเอมทุกคืนวันพฤหัสบดีเวลา 21.00-22.00 น. เป็นรายการที่จะย่อโลกและย่อยเรื่องราวที่แตกต่างมานำเสนอพร้อมเพลงไพเราะในอดีตที่หาฟังได้ยากโดยจัดร่วมกับชุติมาเสวิกุล 
  • เป็นวิทยากรให้กับสถาบันการศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ทางด้านวรรณกรรมวัฒนธรรมและการต่างประเทศ 

ประวัติการรับราชการ  

  • พ.ศ. 2512 เข้ารับราชการที่กระทรวงการต่างประเทศ  
  • พ.ศ. 2518 ผู้ช่วยเลขานุการสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเวียงจันทน์ประเทศลาว 
  • พ.ศ. 2522 ผู้ช่วยเลขานุการสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงบอนน์ประเทศเยอรมัน 
  • พ.ศ. 2529 เลขานุการตรี-โทสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงอังการ่าประเทศตุรกี 
  • พ.ศ. 2536 เลขานุการเอกสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงเวลลิงตันประเทศนิวซีแลนด์ 
  • พ.ศ. 2548 8 อัครราชทูตที่ปรึกษาสถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงซันติอาโกประเทศชิลี 
  • พ.ศ. 2551 เกษียณอายุราชการ  

กิจกรรมด้านสังคม 

  • พ.ศ. 2525-พ.ศ. 2526 เลขาธิการสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย 
  • พ.ศ. 2544-พ.ศ. 2546 นายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย (สมัยที่ 1)  
  • พ.ศ. 2546-พ.ศ. 2548 นายกสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทย (สมัยที่ 2)  
  • ริเริ่มก่อตั้งรางวัล“ นราธิป” สำหรับนักเขียนและบรรณาธิการอาวุโสผู้มีอายุครบ 80 ปีซึ่งสร้างผลงานทรงคุณค่าอย่างต่อเนื่องและยาวนาน 
  • ดำเนินการหาทุนก่อสร้างอาคารที่ทำการสมาคมนักเขียนแห่งประเทศไทยจนสำเร็จ 
  • ริเริ่มและร่วมกับสำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัยกระทรวงวัฒนธรรมดำเนินโครงการวรรณกรรมสัมพันธ์ไทย-กัมพูชาวมกับกระทรวงการต่างประเทศ 
  • ร่วมกับกระทรวงการต่างประเทศดำเนินโครงการวรรณกรรมสัมพันธ์ไทย-เวียดนามและวรรณกรรมสัมพันธ์ไทย-ลาว เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจดีระหว่างไทยกับประเทศเพื่อนบ้านในด้านการทูตภาคประชาชน 
  • เสนอต่อมูลนิธิอมตะให้ก่อตั้งรางวัลนักเขียนอมตะเพื่อยกย่องนักเขียนไทยที่สร้างผลงานดีเด่นมาเป็นเวลานาน 
  • ร่วมกับรัฐสภาก่อตั้งรางวัลพานแว่นฟ้าส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย 
  • ร่วมกับ บริษัท เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน) ก่อตั้งรางวัลเซเว่นบุ๊คอวอร์ดเพื่อส่งเสริมวรรณกรรมไทยโครงการกล้าวรรณกรรมเพื่อสร้างนักเขียนรุ่นเยาว์ 
  • ร่วมกับ บริษัท เซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒในการก่อตั้ง 

เป็นกรรมการตัดสินรางวัลวรรณกรรมต่าง ๆ เช่น 

  • รางวัลวรรณกรรมสร้างสรรค์แห่งอาเซียน (ซีไรต์)  
  • รางวัลแว่นแก้ว 
  • รางวัลพานแว่นฟ้า 
  • รางวัลเซเว่นบุ๊คส์อวอร์ด 
  • รางวัลอมตะ 
  • รางวัลนายอินทร์อวอร์ด 
  • รางวัลอนุสรณ์อ. ไชยวรศิลป์ ฯลฯ  
  • อดีตกรรมการลิขสิทธิ์กรมทรัพย์สินทางปัญญากระทรวงพาณิชย์ 
  • อดีตที่ปรึกษากระทรวงวัฒนธรรม 
  • อดีตที่ปรึกษาโฆษกรัฐบาล 10  ฯลฯ 

ปัจจุบัน  

  • กระทรวงวัฒนธรรมได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ประจำปี 2554  
  • ผู้ทรงคุณวุฒิด้านวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรมสำนักงานส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย 232 PM  
  • ที่ปรึกษามูลนิธิอมตะเกียรติคุณ 
  • ได้รับการประกาศเกียรติคุณยกย่องเป็นศิลปินแห่งชาติสาขาวรรณศิลป์ (นวนิยายและบทกวีประจำปี 2554  
  • รางวัลผู้ใช้ภาษาไทยดีเด่นประจำปี 2554  
  • ศิษย์เก่าดีเด่น“ หนึ่งร้อยปีหนึ่งร้อยคน” สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 
  • ผู้มีผลงานลิขสิทธิ์ดีเด่นกรมทรัพย์สินทางปัญญากระทรวงพาณิชย์ 
  • รางวัลเทพทองสาขาผู้บริหารองค์กรดีเด่นสมาคมนักวิทยุและโทรทัศน์แห่งประเทศไทย 
  • รางวัลครอบครัวประชาธิปไตยตัวอย่าง 

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 

  • ทวีติยาภรณ์ช้างเผือก 
  • ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย 
  • เหรียญจักรพรรดิมาลา 
  • Das Verdienstkreuz am Bande แห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี 

ปรัชญาในการทำงาน 

ในฐานะศิลปินแห่งชาตินักคิดนักเขียนและนักการทูตให้ความสำคัญกับเรื่องคุณธรรมจริยธรรมความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และมิตรภาพระหว่างเพื่อนความรักกำลังใจขณะเดียวกันก็เปิดโลกทัศน์อันกว้างไกลให้กับผู้อ่านโดยนำเสนอข้อคิดมุมมองใหม่ ๆ ในด้านต่างๆอย่างหลากหลายทั้งการเมืองเศรษฐกิจสังคมประวัติศาสตร์โบราณคดีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมรวมถึงเอกลักษณ์และคุณค่าของความเป็นไทยในแง่มุมที่ทั้งใหญ่และเล็กเพื่อให้ผู้อ่านได้รับเนื้อหาสาระความรู้และความคิดเพิ่มขึ้นอีกโสดหนึ่งนอกเหนือจากการอ่านเพื่อนันทนาการ ที่ระลึกเนื่องในวันเพิรามัยสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์  

(ช่วง บุนนาค) 

อ้างอิง : หนังสือศรีสมเด็จ 56 หน้าที่ 104 

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. นิธิศ ปุณธนกรภัทร์

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา : ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาอุตสาหกรรมศิลป์ คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

การศึกษาสูงสุด : ระดับปริญญาเอก สาขาวิชา วท.ด เทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี 

ตำแหน่งปัจจุบัน : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ สาขาวิชาเทคโนโลยีโลจิสติกส์ คณะวิศวกรรมศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ :  

• รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์วารสารระดับชาติ เนื่องในงานวันวิทยาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2557 

• ได้รับเกียรติบัตร จากมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในการเลื่อนตำแหน่งเป็นผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำปีการศึกษา 2559 

• ได้รับโล่เกียรติยศ เนื่องในงานวันวิทยาศาสตร์ ประจำปีการศึกษา 2560 

นายอาคม นาคะ

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา : ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาออกแบบนิเทศศิลป์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

ตำแหน่งปัจจุบัน : design director บริษัท Taste design studio (บริษัทตนเอง) 

ผลงานที่โดดเด่น : 

• วิทยากรบรรยายพิเศษ ในหัวข้อการจัดทำสื่อวิดีโอ ให้กับนักศึกษาจิตวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตรให้กับ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี 

• วิทยากรบรรยายพิเศษ เรื่อง การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ให้กับกลุ่มเสริมวิชาชีพ บ้านแสนตอ  
จ. กาญจนบุรี 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ :  

• รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 3 การประกวดภาพถ่ายอนุสรณ์จากรอยพระบาทยาตรากาญจนบุรี 

• รางวัลชมเชย การประกวดภาพถ่าย “ท่าม่วงบ้านฉันดีและงาม” 

• รางวัลรองชนะเลิศ การประกวดแต่งกลอน “งานถนนคนเดินปากแพรก” 

นายประมินทร์ ตั้งมี

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา : ระดับปริญญาโท ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศิลปกรรม คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

ตำแหน่งปัจจุบัน : ครูวิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ โรงเรียนเคหะชุมชนลาดกระบัง 

ผลงานที่โดดเด่น : 

• ร่วมแสดงผลงานนิทรรศการศิลปะภาพวาดครูและนักเรียนในสังกัดกรุงเทพมหานคร ณ  
หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร 

• ร่วมแสดงผลงานนิทรรศการ เที่ยวท้องถิ่น กินอิ่ม นอนอุ่น จังหวัดราชบุรี 

• ร่วมแสดงผลงานนิทรรศการ โครงการศิลปินร่วมใจวาดหวังแม่ให้รำไพพรรณี ณ วังสวนบ้านแก้ว มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี จังหวัดจันทบุรี 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ :  

• เหรียญจักรพรรดิมาลา 

• เครื่องราชอิสริยาภรณ์ช้างเผือก ชั้นที่ 4 จัตุรถาภรณ์ 

• รางวัลยอดเยี่ยม ชนะเลิศอันดับหนึ่ง 3 ปีต่อเนื่อง ตั้งแต่ปี 2560-2562 ในการประกวดศิลปะภาพวาดประเภทครู ในสังกัดกรุงเทพมหานคร 

ดร.เพ็ญพร ทองคำสุก

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา : ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา  

การศึกษาสูงสุด : ระดับปริญญาเอก สาขาวิชาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต บริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น 

ตำแหน่งปัจจุบัน : ประธานหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

ผลงานที่โดดเด่น :  

• คณะกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ใหม่มหาวิทยาลัยราชภัฏ ระยะ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580) 

• ตัวแทนคณะผู้บริหารที่เข้าร่วมกับเครือข่ายมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ เพื่อลงนามความร่วมมือทางวิชาการ  

• ประธานและกรรมการการประเมินประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ระดับหลักสูตรให้แก่มหาวิทยาลัยทั้งภาครัฐและเอกชน 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ :  

• โล่รางวัลยกย่องเชิดชูผู้บริหารดีเด่น ซึ่งเป็นผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานดีเด่นที่จะเป็นตัวอย่างในการประพฤติตนแก่บุคลากรของมหาวิทยาลัย ในโครงการ “สร้างค่านิยมองค์กร” มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในงานอนุรักษ์สืบสานวัฒนธรรมไทย งานปีใหม่ 

• โล่เกียรติคุณ “ศิษย์เก่าดีเด่น ในด้านการดำเนินชีวิต การศึกษา การงาน จนเจริญก้าวหน้า เป็นที่ประจักษ์เป็นแบบอย่างที่ดีของศิษย์รุ่นต่อไป” จากโรงเรียนวัดดุสิตาราม สำนักงานเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร 

นายดำรงศักดิ์ บุญสู่

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา : ปกศ.สูง สาขาวิชาภาษาไทย – ภาษาอังกฤษ คณะครุศาสตร์ วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

การศึกษาสูงสุด : ระดับปริญญาตรี สาขาวิชา กศบ.การประถมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 

ผลงานที่โดดเด่น :  

• เขียนสารคดีลงพิมพ์ในวารสารศรีสมเด็จฯ ของสมาคมศิษย์เก่าบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ในพระบรมราชูปถัมภ์ 

• เขียนเพลงช่อชงโค ปี พ.ศ.2511 เพลงประจำมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ 

• รางวัลชนะเลิศ ประกวดบทกวีรัตนโกสินทร์ 200 ปี พ.ศ. 2525 

• โล่เชิดชูเกียรติผู้ใช้ภาษาไทยถิ่นดีเด่น วันภาษาไทยแห่งชาติ พ.ศ. 2562 

• โล่รางวัลผู้ทำประโยชน์ต่อกระทรวงวัฒนธรรม พ.ศ. 2562 

• โล่เชิดชูเกียรติคุณ ศิลปินดีเด่นอ่างทอง สาขาวรรณศิลป์ พ.ศ.2544 

• รางวัลครูภาษาไทยดีเด่น คุรุสภา อ.เมือง จ.อ่างทอง พ.ศ. 2542 

• รางวัลประกวดบทกวีการเมือง พานแว่นฟ้า รัฐสภาไทย พ.ศ. 2555 

รองศาสตราจารย์ ดร.ธีรศักดิ์ อุปไมยอธิชัย

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา  : ระดับปริญญาตรี สาขาวิชาเอกดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

การศึกษาสูงสุด : ระดับปริญญาเอก สาขาวิชา กศ.ด.การบริหารและการจัดการการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ  

ผลงานที่โดดเด่น  

• ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย 

• ผู้ทรงคุณวุฒิวิพากษ์หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• ผู้ทรงคุณวุฒิโครงการความร่วมมือการเขียนหนังสือ/ตำรา มหาวิทยาลัยรังสิต 

ตำแหน่งปัจจุบัน : อาจารย์ประจำสาขาวิชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ 

• นักวิจัยดีเด่น พ.ศ.2560 สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) 

• รางวัลอาจารย์สายสอนที่มีผลการปฏิบัติราชการสูงที่สุด ประจำปี พ.ศ. 2559 

• ผลงานวิจัยยอดเยี่ยม สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช) 2559 

ผู้ช่วยศาสตรจารย์ ดร.ทินกร อัตไพบูลย์

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา : ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

การศึกษาสูงสุด : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต(การบริหารจัดการดนตรีและศิลปะการแสดง) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 

ตำแหน่งปัจจุบัน : หัวหน้าสาขาวิชาดนตรีศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม 

ผลงานที่โดดเด่น  

• การเผยแพร่ผลงานด้านการแสดงดนตรีและนาฏศิลป์พื้นบ้านในระดับชาติและระดับนานาชาติ ตั้งแต่ ปี พ.ศ.2532 จนถึงปัจจุบัน เช่น สาธารณรัฐอิสลาเอล เบลเยี่ยม เนเธอร์แลนด์ สาธารณรัฐชิลี ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา ฝรั่งเศส เป็นต้น 

• ผลงานทางวิชาการประเภทตำรา บทความทางวิชาการ และงานวิจัย อาทิ พัฒนาการหมอลำสู่เพลงลูกทุ่งประยุกต์ ศึกษากรณีศิลปินบานเย็น รากแก่น 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ  

• รางวัล “กิตติคุณสัมพันธ์สังข์เงิน” ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม จากสมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย  

• รางวัลผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรม สาขาศิลปะและการแสดงดนตรีพื้นบ้าน(วงโปงลาง) สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ 

• รางวัลเพชรสยาม สาขาศิลปะและการแสดงพื้นบ้านอีสาน มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 

ว่าที่พันตรี ดร.รุ่งโรจน์ โพธิ์ทอง

ศิษย์เก่ารุ่น/สาขาวิชา : ระดับปริญญาเอก มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

ตำแหน่งปัจจุบัน : รองประธานสมาชิกสภาเทศบาล ตำบลแคราย อำเภอกระทุ่มแบน จ.สมุทรสาคร 

ผลงานที่โดดเด่น :  

• รองประธานชมรมข้าราชการบำนาญกรมราชทัณฑ์ 

• ผู้อำนวยการส่วนปฎิบัติการพิเศษ กรมราชทัณฑ์  

• ผู้อำนวยการส่วนควบคุมเรือนจำพิเศษมีนบุรี  

• ผู้อำนวยการส่วนพัฒนา /ผู้อำนวยการส่วนปกครอง ทัณฑสถานบำบัดพิเศษจังหวัดพระนครศรีอยุธยา   

• ผู้อำนวยการส่วนพัฒนาส่วนพัฒนา เรือนจำกลางคลองเปรม  

• ผู้บังคับบัญชาการเรือนจำอำเภอแม่สะเรียง จังหวัดแม่ฉ่องสอน  

• ผู้บัญชาการเรือนจำจังหวัดศรีสะเกษ ผู้ตรวจราชการกรมราชทัณฑ์ 

• ผู้บังคับบัญชาการเรือนจำจังหวัดสมุทรสาคร 

เกียรติคุณ รางวัลที่ได้รับ : 

• ดาวเมขลา ปี 2559 ผู้บริหารพัฒนาสังคมดีเด่น จากสมาคมผู้สื่อข่าวการบันเทิงแห่งประเทศไทย 

• ผู้นำองค์กรดีเด่น ปี 2561 จากเดลิมิเร่อร์ 

รศ.ดร. ลลิตา ฤกษ์สำราญ

ประวัติ รศ.ดร. ลลิตา ฤกษ์สำราญ

วันเกิด วันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2492  

ศิษย์เก่า 

  • วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ. 2509 
  • ปริญญาตรีเกียรตินิยม วิทยาลัยวิชาการศึกษาพิษณุโลก มหาวิทยาลัยนเรศวร 
  • ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิจัย) 
  • ปริญญาเอก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (จิตวิทยา ) 

ประวัติการทำงาน 

  • ประธานคณะกรรมาธิการกิจการเด็ก เยาวชน สตรี และผู้สูงอายุ 
  • สภาผู้แทนราษฎรรองประธานคณะกรรมาธิการการศึกษาสภาผู้แทนราษฎร 
  • ที่ปรึกษาคณะกรรมาธิการการต่างประเทศ 
  • สภาผู้แทนราษฎร 
  • เลขาธิการหน่วยและมนตรีสหภาพรัฐสภาประจำชาติไทย 
  • กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ งบประมาณแผ่นดิน 
  • กรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ 
  • กรรมการยกร่างแก้ไขพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกวุฒิสภาและสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 
  • กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยนเรศวร 
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิสหวิทยาลัยรัตนโกสินทร์  
  • กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา 

เครื่องราชอิสริยาภรณ์ 

พ.ศ. 2531 ประมาภรณ์มงกุฎไทย (ป.ม.) 

พ.ศ. 2533 ประมาภรณ์ช้างเผือก (ป.ช.) 

พ.ศ. 2536 มหาวชิรมงกุฏ (ม.ว.ม.) 

พ.ศ. 2531 มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.) 

อ้างอิง : หนังสือศรีสมเด็จ 49 หน้าที่ 80 – 87