พระนิภากรกิตติพิลาส (ชัยฐิโชตม์ อภิโชโต)

ปริญญา : พระนิภากรกิตติพิลาส (ชัยฐิโชตม์ อภิโชโต) 

วัน/เดือน/ปี ที่ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ : ๑๙ มกราคม ๒๕๕๐ 

นายสุรินทร์ สงค์ทอง

นายสุรินทร์ สงค์ทอง

ปริญญา : ศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาดนตรีไทย 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๑๙ มกราคม ๒๕๔๙ 

นางเพลินใจ กุนทีกาญจน์

นางเพลินใจ กุนทีกาญจน์

ปริญญา : ศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๑๙ มกราคม ๒๕๔๙ 

สมเด็จฮุนเซน

สมเด็จฮุนเซน

ปริญญา : ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาการศึกษาเพื่อพัฒนาท้องถิ่น 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๑๙ มกราคม ๒๕๔๙ 

วัน เดือน ปีเกิด : วันที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2495

สถานที่เกิด : หมู่บ้านเปี่ยมคะนงค์ ตําบลเปี่ยมเกาะสนา อํานาอสดึงดร็อง จังหวัดกัมปงจาม

สถานภาพทางครอบครัว : ได้สมรสกับคุณหญิงบุน รานี มีบุตรชาย 3 คน และบุตรสาว 3 คน คือ (ในนี้มีหนึ่งคนเป็นบุตรบุญธรรม) (1) ฮุน มาเนด (2) ฮุน มานา (3) ฮุน มานิด (4) ฮุน มานี้ (5) ฮุน มาลี (6) ชุน มาลิส

ความรู้ภาษาต่างประเทศ : ภาษาเวียดนาม และเรียนภาษาอังกฤษด้วยตนเองจนมีความเข้าใจในระดับหนึ่งและเข้าใจภาษาไทยพอสมควร

ประวัติการศึกษา

– พ.ศ. 2508 จบการศึกษาในระดับประถมศึกษาจากโรงเรียนในจังหวัดกัมปงจาม 
– พ.ศ. 2508 – 2513 ศึกษาระดับมัธยมศึกษาที่โรงเรียนอินทราเทวี กรุงพนมเปญ แต่ไม่จบการศึกษา เนื่องจากได้เข้าร่วมสงครามต่อต้านรัฐบาลนายพลลอน นอล

ประวัติการทํางาน

– พ.ศ. 2513 – 2518 เข้าร่วมกองกําลังสมเด็จเจ้านโรดม สีหนุต่อสู้กับรัฐบาลนายพลลอน นอล

– พ.ศ. 2518 – 2520 รองผู้บังคับการกองพัน และผู้บังคับการกองกําลังสังกัดกองพลที่ 41 ภูมิภาค 203

– พ.ศ. 2520 – 2522 เริ่มงานต่อต้านรัฐบาลกัมพูชาประชาธิปไตย โดยร่วมมือกับขบวนการรักชาติกลุ่มอื่นๆ ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกและคณะกรรมการกลาง แนวร่วมสามัคคี ประชาชาติกัมพูชา ซึ่งจัดตั้งขึ้นเพื่อล้มล้างรัฐบาลเขมรแดง

– พ.ศ. 2522 2524 รัฐมนตรีว่าการกระทรวงต่างประเทศ ในรัฐบาลประชาชนปฏิวัติกัมพูชา ซึ่งถือว่าเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศที่มีอายุน้อยที่สุดในโลก (27 ปี)

– พ.ศ. 2524 – 2525 สมาชิกโปลิตบูโร ลําดับที่ 5 และสมาชิกสํานักงานเลขาธิการในการประชุมสมัชชาพรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา

– มิถุนายน รองนายกรัฐมนตรี

– ธันวาคม สมาชิกแนวร่วมสามัคคีสร้างสรรค์และพิทักษ์มาตุภูมิกัมพูชา

– พ.ศ. 2525 – 2529 ประธานคณะกรรมาธิการวิเทศสัมพันธ์ ประจําคณะกรรมการกลาง พรรคประชาชนปฏิวัติกัมพูชา

– มกราคม นายกรัฐมนตรี สืบแทนนายจัน ปี ซึ่งถึงแก่กรรม

– ตุลาคม สมาชิกโปลิตบูโร ลําดับที่ 2 และสมาชิกสํานักงานเลขาธิการพรรคในการประชุมสมัชชาพรรค ครั้งที่ 5

– พ.ศ. 2530 – 2533 ดํารงตําแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศอีกตําแหน่งหนึ่ง

– พ.ศ. 2533 2534 สมาชิกสภาสูงสุดแห่งชาติ (Supreme National Council)

– พ.ศ. 2534 2536 รองประธานพรรคประชาชนกัมพูชา (CPP)

– พ.ศ. 2536 – 2541 นายกรัฐมนตรีคนที่ 2 ของรัฐบาลผสม 2 ฝ่ายซึ่งมีพรรคการเมือง 2 พรรค เข้าร่วมรัฐบาล

– พ.ศ. 2541 – ปัจจุบัน นายกรัฐมนตรีและสมาชิกสภาแห่งชาติกัมพูชา จังหวัดกําปงจาม

เกียรติประวัติ ฐานันดรศักดิ์ เหรียญและรางวัล

สมเด็จฮุน เซน ได้รับพระราชทานฐานันดรศักดิ์ให้เป็นสมเด็จฮุน เซน จากพระมหากษัตริย์ เจ้านโรดมสีหนุ

พ.ศ. 2534 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ด้าน รัฐศาสตร์ จากบัณทิดสภาแห่งชาติ ณ กรุงฮานอย ประเทศเวียดนาม

พ.ศ. 2538 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการเมืองการปกครองมหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย ภาคใต้ ประเทศสหรัฐอเมริกา

พ.ศ. 2539 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ทางด้านนิติศาสตร์จากมหาวิทยาลัย เวสลียัน (Weslesyan) รัฐโอไอโอ ประเทศสหรัฐอเมริกา

ได้รับรางวัลสันติภาพโลกจากบัณฑิตสภาสันติภาพโลก (World Peace Academy) นับเป็นบุคคลที่ 6 ที่ได้รับรางวัลสันติภาพโลกและเป็นคนแรกของเอเชียตะวันออกเฉียงได้ในฐานะ 1) เป็นสมบัติทางวัฒนธรรม แห่งมนุษยชาติ 2) เป็นเอกอัครราชทูตสันถวไมตรีแสวงหาสันติ 3) เป็นสมาชิกสภาสันติภาพโลก

พ.ศ. 2544 ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการปกครองจากมหาวิทยาลัย Pakook ณ กรุงเซูล ประเทศเกาหลีใต้ ในฐานะผู้สร้างสันติภาพ

ได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศจาก มหาวิทยาลัยรามคําแหง ประเทศไทย

สถาบันนานาชาติ “เสรัยเจินมอย” มอบเหรียญเกียรติยศ “หัวใจดวงเดียว” ให้สมเด็จฮุน เซน ในฐานะทําให้โลกมีหัวใจดวงเดียว เป็นผู้ช่วยเหลือประชาชนกัมพูชาหลายล้านคนให้มีโอกาสได้รับการศึกษา อาหาร ที่อยู่อาศัย สร้างโรงเรียน โรงพยาบาล และระบบชลประทานเป็นจํานวนมาก

พ.ศ. 2545 ได้รับเหรียญเกียรติยศจากบัณฑิตสภาวิทยาศาสตร์ธรรมชาติของสาธารณรัฐรัสเซีย

คณะกรรมาธิการของสหพันธ์วิศวกรรมแห่งอาเซียนมอบตําแหน่งวิศวกรกิตติมศักดิ์สูงสุด เนื่องจากเปิดโอกาสให้นิสิต นักศึกษา ปัญญาชนของชาติได้มีโอกาสเข้าร่วมก่อสร้างและพัฒนาประเทศชาติ

พ.ศ. 2547 ได้รับปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จาก Irish International University แห่งสหภาพยุโรป และได้รับเหรียญ Excellence 2004 มหาวิทยาลัยกัมพูชาได้มอบปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาการเมืองการปกครอง

พ.ศ. 2547 สมเด็จฮุน เซน ได้เป็นสมาชิกสมาคมทนายความกัมพูชา

พ.ศ. 2548 สถาบันนานาชาติ เสรัยเจินมอย ได้มอบเหรียญสันติภาพแด่สมเด็จฮุน เซน เพื่อแสดงถึงความสามารถในการยุติสงครามในกัมพูชา

พระครูไพศาลประชาทร (ดนัย อตฺถภทฺโท)

ปริญญา: วิทยาศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาสุขศึกษา 

วัน/เดือน/ปี ที่ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ : ๑๙ มกราคม ๒๕๔๙ 

รศ.ดร.สุพล วุฒิเสน (พ.ศ.๒๕๔๖–๒๕๕๕)

ข้อมูลพื้นฐานส่วนตัว

  • ชื่อ ว่าที่ ร.ต. สุพล     นามสกุล    วุฒิเสน
  • เกิดวันที่    ๒      เดือนมีนาคม  พ.ศ.   ๒๔๘๖  
  • ที่อยู่ปัจจุบัน  บ้านเลขที่  ๑๙/๕๓  หมู่ที่ ๗  ตำบล  คลองหลวงแพ่ง

อำเภอ เมือง   จังหวัด ฉะเชิงเทรา  ๒๔๐๐๐

  • สถานที่ทำงานปัจจุบัน  ประสานงานกับหลายมหาวิทยาลัย  (ผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธนบุรี  กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย  กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี  ฯลฯ)
  • ประวัติการทำงาน (ระบุปี พ.ศ.)
  • พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๒๘             อาจารย์โรงเรียนฝึกหัดครูอุดรธานี

                                          วิทยาลัยครูอุดรธานี

  • พ.ศ.๒๕๒๘-๒๕๓๒             อธิการ วิทยาลัยครูสุรินทร์
  • พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๔๖             อธิการ , อธิการบดี  วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา

                                          สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา

                                          สถาบันราชภัฏราชนครินทร์

  • พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๕๕              อธิการบดี สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

                                          มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา

                        (เป็นผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง ๒๕๒๘ – ๒๕๕๕ รวม ๒๘ ปี)

ด้านวิชาการ

         ๑. ๑ คุณวุฒิทางการศึกษา

พ.ศ. ๒๕๒๗      Ph.D. (International/Intercultural Education). The Florida State University, USA. 1984

พ.ศ. ๒๕๑๖      M.A. (Comparative International Development Planning in Education), Stanford University, USA. 1973

พ.ศ. ๒๕๑๓      M.A.T. (Social / Asian Studies),University of the Philippines. Quezon City The Philippines, 1970     

พ.ศ. ๒๕๐๗ ปริญญาตรี กศ.บ. วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) อื่นๆ…

วุฒิบัตรการฝึกอบรม : สถาบันพระปกเกล้า ๒๕๔๔ การกำหนดยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลงจากการการศึกษาและการปฏิรูประบบราชการ

วุฒิบัตรการฝึกอบรม : ทบวงมหาวิทยาลัย ๒๕๔๓ การพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของสถาบันอุดมศึกษา

Certificate : World University President Summit Bangkok 2006

Certificate :Queensland Higher Education Rajabhat Presidents Program, Australia, 2002

Certificate :Institutional Management in Higher Education, UNESCO/ SEAMEO, 2000

Certificate :Presidential Seminar on the Presentation of the Honorary Doctoral Award to His Royal Highness the Crown Prince, Edith Cowan University, Australia, 1997

Certificate :Graduate Training Program, Edith Cowan University, Australia, 1995

Certificate : Chunga-Seminar and Korea Study Tour, Human Resource Development Project, Chung-Ang University, Seoul, Korea, 1-5 june 1994

 Certificate :Entrepreneurship Educational, Southern Illinois University at Carbondale, 1988

Certificate : Presidential Seminar, Western Carolina University, USA, 1986

Certificate : Planning for Integrated Regional Development, UNCRD Nagoya, Japan, 1977

         ๑.๒ ผลงานทางวิชาการ  (ตำรา / บทความทางวิชาการ / งานวิจัย)

ตำรา / บทความทางวิชาการ / งานวิจัย ชื่อวารสารที่ตีพิมพ์ (เฉพาะบทความ / งานวิจัย) พ.ศ.
๑. TRENDS Model World University President Summit Bangkok ๒๕๔๙
๒.ทิศทางวิสัยทัศน์และประเด็นสำคัญของการพัฒนา      การศึกษาระดับอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๔๓
๓.พันธกิจของการศึกษาระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาต่อการพัฒนาประเทศ วารสารคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕๔๒
๔.อาจารย์กับกระบวนการตื่นตัวทางวิชาการ ราชภัฏราชนครินทร์ ๒๕๔๒
๕.ราชภัฏราชนครินทร์อุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา มติชน ๒๕๔๒,๑๔ ก.พ.
๖.ปฏิบัติการต่อเนื่องโครงการ่วมมือกับควีนแลนด์ ราชภัฏฉะเชิงเทรา ๒๕๔๑
๗.Cooperation Among Higher Ed. Inst ฯลฯ UNESCO, BANGKOK ๒๕๔๑
๘.กศ.บป.กับการพัฒนาคนทำงาน สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ ๒๕๔๐
๙.Joint Programs Thai- Australian University AVCC- Australia ๒๕๓๙
๑๐.Innovative Approaches Towards Youth Problem UNICEF, BANGKOK ๒๕๓๘
๑๑. บทบาทสถาบันการศึกษาในโครงการอีสานเขียว มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๓๗
๑๒.การควบคุมการศึกษาของไทยฯลฯ คุรุปริทัศน์ ๒๕๓๖
๑๓. การวิจัยในสภาพธรรมชาติ ฯลฯ วิจัยสนเทศ, กศ.น. ๒๕๓๕
๑๔.การตวจสอบและชี้นำโดยนักวิชาการ วิทยาลัยครูสุรินทร์ ๒๕๓๔
๑๕.วิทยาลัยครูในฐานะปฏิบัติการสำคัญทางวัฒนธรรม คุรุปริทัศน์ ๒๕๓๓
๑๖. The working condition for Civil –officer ฯลฯ NCC-Norway ๒๕๓๒
๑๗.ความเติบโตของวิชาชีพครู ฯลฯ คุรุปริทัศน์ ๒๕๓๐
๑๘.เงื่อนไขแนวปฏิบัติของนักวิชาการท้องถิ่น บัณฑิตวิทยาลัย ๒๕๓๑
๑๙.ความดีความชอบที่ส่งเสริมการเป็นสถาบันอุดมศึกษา คุรุปริทัศน์ ๒๕๒๘
๒๐. ความเจริญทางการศึกษาต้องปรับให้ทันปัญหา คุรุปริทัศน์ ๒๕๒๗
๒๑. The Sarvodaya Movement UNESCO, BANGKOK ๒๕๒๖
๒๒. Experiences in developing Inst-Materials UNESCO, BANGKOK ๒๕๒๕
๒๓. Exploring New Direction in Teacher Education UNESCO, BANGKOK ๒๕๒๔
๒๔. กรมหลวงผู้เป็นอัจฉริยะในการเป็นนักการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น อาทิตยคุณธรรมของการศึกษาไทย สกอ. ๒๕๕๑
๑.เงื่อนไขสำคัญในหมู่บ้านต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเยาวชนในพื้นที่ชนบทยากจนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ สภาวิจัยแห่งชาติ ๒๕๒๘-๒๕๓๙
๒.ครูกับการพัฒนาชนบท : กรณีโครงการอบรมครูประจำการ  วิทยาลัยครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ The Internationnal Dev’t research Centre (IDRC) ๒๕๓๑
๓. Teachers College Extension Centre in Rural Areas as Means   to Practical Educationnal Reform : A Preliminary Study UNCRD – Nagoya ๒๕๒๐
๔.Effective Change –Agents of Rural Areas in Udorn and   Nongkai Provinces สภาการศึกษาแห่งชาติ NEC ๒๕๓๓
๕.Linking of Formal and Non –formal Ed. Experiment Project in   NE- Thailand UNESCO, BANGKOK  
๖.อิทธิพลของตัวการในการเปลี่ยนแปลงสังคมรายกรณีชนบท  อุดรธานี สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ๒๕๒๙
๗. The Teachers Training Regional Network and Educational  Innovation FSU, Ford Foundation ,IDRC ๒๕๒๗

   ๑.๓ ตำแหน่งทางวิชาการ  (ถ้ามี)

ตำแหน่งทางวิชาการ  รองศาสตราจารย์

ศาสตราจารย์พิเศษ    Faculty of Computing, Health and Science ,  Edith Cowan University,  Perth, Australia

ศาสตราจารย์พิเศษ    Tianjin Normal  University,  Tianjin, PR.China

ศาสตราจารย์พิเศษ    Chamroeun University of Technology,  Phnom Penh, Cambodia

๒.  ประสบการณ์ด้านการบริหาร

         กรรมการสภาวิชาการ  มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย  (ปัจจุบัน )

         กรรมการสภาวิชาการ  มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี  (ปัจจุบัน)

         กรรมการสภามหาวิทยาลัยธนบุรี  พ.ศ. 2556 ( ปัจจุบัน)

         บริหารสถานศึกษา

อธิการบดี       สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา  มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ.๒๕๕๕

                     (จากปี ๒๕๔๖)    

อธิการ           วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา  สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา

อธิการบดี       สถาบันราชภัฏราชนครินทร์            พ.ศ.๒๕๔๖ (จากปี๒๕๓๒)                    

อธิการ           วิทยาลัยครูสุรินทร์                         พ.ศ.๒๕๓๒ (จากปี๒๕๒๘)

ประธานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ                  พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๑

อนุกรรมาธิการ การอุดมศึกษา, วุฒิสภา                พ.ศ.๒๕๕๑

กรรมาธิการวิสามัญร่างพรบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ, สภาผู้แทนราษฎร     พ.ศ.๒๔๔๖

         บริหารงานอุดมศึกษา

อนุกรรมการด้านนโยบายและแผนอุดมศึกษา  สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ๒๕๕๑
อนุกรรมาธิการการอุดมศึกษา สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ๒๕๕๑
ประธานอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ๒๕๕๐
กรรมาธิการวิสามัญร่างพ.ร.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ สภาผู้แทนราษฎร ๒๔๔๗ (จากปี ๒๔๔๖)
กรรมการต่างๆกรมการฝึกหัดครู สถาบัน     ราชภัฏและหน่วยงานราชการอื่นๆทุกระดับตามคำเชิญ    
  • งานบริการสังคม

2557                            ประธานมูลนิธิสถาบันราชภัฏราชนครินทร์ในพระอุปถัมภ์ ฯ

๒๕๕๑- ปัจจุบัน            ทูตสันติภาพของ Interreligious and International Federation for World – Peace

     Thailand

๒๕๔๙                          สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ(ตามระเบียบคณะกรรมการกำกับดูแลการสรรหาฯ)

๒๕๔๘                          กรรมการสรรหา คณะกรมการ ป.ป.ช.

๒๕๓๘                          ประธานกรรมการพัฒนาคลองแสนแสบ (ส่วนต่อเนื่องไปฉะเชิงเทรา คำสั่ง ศธ.)

๒๕๓๗                          ประธานกรรมการในการจัดอบรมครูประจำการประถมศึกษา (คำสั่ง ศธ.)

๔. รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ

๑.ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนาฯ ทรงให้ตามเสด็จหลายครั้ง  ถวายรายงานร่วมเขียนหนังสือ ๑ เล่ม ได้รับพระประทานนาม “ สถาบันราชภัฏราชนครินทร์” อันยิ่งกว่ารางวัล  และเกียรติคุณใดๆ

๒. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ประถมาภรณ์ช้างเผือก

๓. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย Sahametrei Grand cros ของราชอาณาจักรกัมพูชา

๔. ศิษย์เก่าดีเด่น วิทยาลัยครูอุดรธานี,วิทยาลัยวิชาการศึกษา (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร)

ดูประวัติเพิ่มเติม : อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ รศ.ดร.สุพล วุฒิเสน1

น.ส.มณีนุช เสมรสุต

น.ส.มณีนุช เสมรสุต

ปริญญา : ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๘ มีนาคม ๒๕๔๕ 

พระธรรมปิฏก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)

ปริญญา :   ปรัชญาดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการศึกษา 

วัน/เดือน/ปี ที่ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ : ๘ มีนาคม ๒๕๔๕ 

พระพุทธวรญาณ (มงคล วิโรจโน)

ปริญญา : ศิลปศาสตรดุษฏีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 

วัน/เดือน/ปี ที่ถวายปริญญากิตติมศักดิ์ : ๘ มีนาคม ๒๕๔๕ 

นางสุคนธ์ พรพิรุณ

นางสุคนธ์  พรพิรุณ 

ปริญญา : ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ 

วัน/เดือน/ปี ที่ได้รับปริญญา : ๒๖ มกราคม ๒๕๔๔