นายสวัสดิ์ สิงหพงษ์ (พ.ศ.๒๕๐๐–๒๕๐๑)

นักเรียนฝึกหัดครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) สำเร็จการศึกษาเป็นรุ่นแรก ในเดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ 

วัยเยาว์  เกิด ๔ กันยายน ๒๔๔๗ 

การศึกษา วุฒิ ป.ม. 

• พ.ศ.๒๔๙๕ – ๒๔๙๗ ศึกษาดูงาน ประเทศสหรัฐอเมวิกา 

การรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๗๘ รับราชการครั้งแรก 

• พ.ศ. ๒๔๙๒ อาจาวยโทโรงเรียนฝึกหัดครูชั้นสูง ประสานมิตร 

• พ.ศ. ๒๔๙๗-๒๔๙๙ หัวหนสำนักงานอธิการวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร 

• พ.ศ. ๒๕๐๐-๒๕๐๑ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูอาชีวศึกษา 

• อาจารย์โรงเรียนฝึกหัดครูพระนคร 

• อาจารย์วิทยาลัยวิชาการศึกษา ปทุมวัน 

• พ.ศ. ๒๕๑๗ ปลดเกษียณอายุราชการ 

หลวงบุญปาลิตวิชชาลาสก์ (พ.ศ.๒๔๙๙–๒๕๐๐)

เดิมชื่อ บุญเลี้ยง บุณยุปการ เปลี่ยนชื่อและนามสกุลเมื่อคราวถวายบังคมลาออกจากบรรดาศักดิ์ เมื่อ พ.ศ ๒๔๘๕ เป็น บุญอุปการ บุญปาลิต 

กระทรวงศึกษาธิการ ได้เปลี่ยนหลักสูตรประโยครูประถมและประโยคครูมัธยมเป็นประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) และประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาชั้นสูง (ป.กศ.ชั้นสูง) ตามลำดับ กับทั้งได้ยกเลิกหลักสูตรประโยคครูมัธยมการงานสันทัด 

วัยเยาว์  เกิด ๑๑ พฤศจิกายน ๒๙๓๘ สถานที่เกิด อำเภอจักรวรรดิ์ พระนคร 

บิดา-มารดา ขุนเพิ่มบำรุงรรม (นอกรบ่อนเบี้ย) และนางสุด 

ครอบครัว มีบุตร-ธิดา ๕ คน ถึงแก่กรรมเมื่อ ๓ กุมภาพันธ์ ๒๕๐๔ ด้วยโรคเบาหวาน 

การศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๔๖ – ๒๔๔๘ โรงเรียนราษฎรเจริญ จบชั้นประถมศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๔๙ – ๒๔๕๗ โรงเรียน “ราชบูรณะ” (โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย) จนจบ ม. ๘ 

• พ.ศ. ๒๔๕๘ รับราชการตำแหน่งนักเรียนสอนโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์ 

• พ.ศ. ๒๔๕๙ – ๒๔๖๓ ได้รับทุนเล่าเรียนไปศึกษา ณ มหาวิทยาลัยนอร์ทเวสเทิน ชิคาโท 

สหรัฐอเมริกา ได้รับปริญญา B. Sc. 

การรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๖๓ อาจารย์รองโรงเรียนมัธยมวัดปทุมคงคา 

• พ.ศ. ๒๔๖๔ ได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงบุญปาลิตวิชชาสาสก์ 

• พ.ศ. ๒๔๗๕ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัดปทุมคงคา 

• พ.ศ. ๒๔๘๒ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 

• พ.ศ. ๒๔๙๗ อาจารย์ประจำกรมวิสามัญศึกษา ผู้ช่วยอธิบดี กรมวิชาการ 

อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• พ.ศ. ๒๔๙๘ ลาออกจากราชการเพื่อรับพระราชทานบำนาญ 

นายจรูญ วงศ์สายัณห์ (พ.ศ.๒๔๙๑–๒๔๙๙)

เป็นระยะที่การฝึกหัดครูที่โรงเรีนบนสมเด็จเจ้าพระยามีชื่อเสียง ทั้งด้านกีฬา และวิชาการ มีศิษย์เก่าบ้านสมเด็จ ฯ  สองท่านเป็นนัคกีฬาทีมชาติไปแข่งขันกีฬาโอลิมปิก ณ กรุงเฮลซิงกิ ประเทศฟินแลนด์ สร้างตึกวิเศษศุภวัตร์ ข้างครูมฝึกลอนรักบี้ฟุตบอล และจัดการฝึกหัดดรูหลักสดว ป.ม. การงานส้นทัด 

วัยเยาว์  เกิด ๒๘ พฤศจิกายน ๒๔๕๙ สถานที่เกิด จังหวัดฉะเชิงเทรา 

บิดา-มารดา ขุนเจริญประศาสน์ (สาย วงศ์สายัณห์) และนางเสริมสุข วงศ์สายัณห์ 

ครอบครัว สมรสครั้งที่ ๑ กับ นางฉวีผ่อง มีบุตร-ธิดา ๓ คน สมรสครั้งที่ ๒ กับ นางลัดดา  ไม่มีบุตร-ธิดา 

การศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๖๕ – ๒๔๖๗ โรงเรียนประจำอำเภอเขาย้อยและอำเภอยางหย่อง จ.เพชรบุรี 

• พ.ศ. ๒๔๖๘ – ๒๔๗๑ โรงเรียนประจำจังหวัดสมุทรสงคราม “ศรัทธาสมุทร” จบชั้น ม. ๔ 

• พ.ศ. ๒๔๗๒ – ๒๔๗๓ โรงเรียนประจำจังหวัดปราจีนบุรี “ปราจีนราษฎรบำรุง” จบชั้น ม. ๖ 

• พ.ศ. ๒๔๗๔ – ๒๔๗๕ โรงเรียนมัธยมวัดเทพคิรินทร์ จบขึ้น ม.๘ 

• พ.ศ. ๒๔๗๖ – ๒๔๘๐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จบอนุปริญญาครูมัธยมวิทยาศาสตร์ และปริญญา วิทยาคาสตรบัณฑิต 

• พ.ศ. ๒๔๘๙ ปริญญาธรรมศาสตรบัณฑิตจากมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์และการเมือง 

• พ.ศ. ๒๔๙๓ ปริญญามหาบัณฑิตทางการศึกษาจากมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด สหรัฐอเมริกา 

การรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๘๑ – ๒๔๘๖ อาจารย์โทโรงเรียนสวนสุนันทาวิทยาลัย 

• พ.ศ. ๒๔๘๖ – ๒๔๙๐ อาจารย์โทโรงเรียนฝึกหัดครูประถมพระนคร 

• พ.ศ. ๒๔๙๐ – ๒๔๙๑ ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูประถมพระนคร 

• พ.ศ. ๒๔๙๑ – ๒๔๙๘ รักษาการอาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• พ.ศ. ๒๔๙๒ – ๒๔๙๓ ศึกษาต่อต่างประเทศ 

• พ.ศ. ๒๔๙๘ – ๒๔๙๙ รักษาการตำแหน่งผู้ช่วยอธิบดีกรมวิชาการ 

• พ.ศ. ๒๔๙๙ – ๒๕๐๐ ผู้ช่วยอธิบดีกรมวิชาการ 

• พ.ศ. ๒๕๐๐ – ๒๕๐๔ รองอธิบดีกรมวิชาการ 

• พ.ศ. ๒๕๐๔ – ๒๕๑๗ อธิบดีกรมวิชาการ 

• พ.ศ. ๒๕๑๗ – ๒๕๒๐ ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 

หลวงภารสาร (เฟื่อง ภารสาร) (พ.ศ.๒๔๘๓–๒๔๙๑)

เปิดสอนหลักสูตรครูประถมขึ้นในโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้พระยา พ.ศ.๒๔๘๔ โดยรับนักเรียนทุนซึ่งจบขั้น ม. ๖ จากส่วนภูมิภาคมาศึกษาต่อ ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๒ ได้ทำหน้าที่ควบคุมนักเรียนฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยาไปศึกษาระหว่างหลบภัยทางอากาศที่จังหวัดลพบุรีและชลบุรี สมัยนี้ได้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนเสียใหม่ว่า “โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา” 

วัยเยาว์  เกิด ๒๘ กรกฎาคม ๒๔๓๕ 

สถานที่เกิด อำเภอพระนคร งังหวัดพระนคร 

บิดา-มารดา หมื่นพลนาวา (ถั่ว) และนางจันทร ภารสาร 

ครอบครัว สมรสกับนางเอิบจิตต์ ภารสาร มีธิดา ๒ คน 

ถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ ๕ มกราคม ๒๕๐๓ 

การศึกษา 

• โรงเรียนวัดสุทัศนเทพวราราม จบประโยค ๒ 

• พ.ศ.๒๔๕๒ โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์บนสมเด็จเจ้าพระยา 

• โรงเรียนสวนกุหลาบอังกฤษ 

• พ.ศ.๒๔๕๔ ศึกษาอบรมที่สามัคยาจารย์สมาคม เป็นเวลา ๑ ปี สอบได้ประกาศนียบัตรครูประถม และประกาศนียบัตรครูมัธยม 

การรับราชการ 

• พ.ศ.๒๔๕๔ ครูโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 

• พ.ศ.๒๔๕๕ ครูโรงเรียนมัธยมวัดภาวนาภิรตาราม 

• พ.ศ.๒๔๖๐ ครูใหญ่โรงเรียนมัธยมวัดภาวนาภิรตาราม 

• พ.ศ.๒๔๖๒ ครูใหญ่โรงเรียนประจำมณฑลพิษณุโลก 

• พ.ศ.๒๔๖๕ ครูโรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์ 

• พ.ศ.๒๔๖๖ ครูใหญ่โรงเรียนประจำมณฑลอยุธยา 

• พ.ศ.๒๔๗๖ ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมวัดเทพศิรินทร์ 

• พ.ศ.๒๔๘๓ ครูใหญ่โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• พ.ศ. ๒๔๘๗ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• อาจารย์ใหญ่ควบคุมนักเรียนฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยาไปศึกษาระหว่าง หลบภัยทางอากาศที่จังหวัดลพบุรีและจังหวัดชลบุรี 

• อาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมและโรงเรียนฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• พ.ศ.๒๔๙๑ ครบเกษียณอายุ รับพระราชทานบำนาญ 

• พ.ศ.๒๔๙๒ – ๒๔๙๗ หัวหน้าแผนก ช.พ.ค. ของคุรุสภา 

หลวงทรงวิทยาศาสตร์ (ทรง ประนิช) (พ.ศ.๒๔๘๑–๒๔๘๒)

รับช่วงนโยบายสืบต่อจากพระยาวิเศษศุภวัตร์ ท่านพอใจอยากให้ศิษย์เรียกท่านว่า “ครู” มากกว่าเรียกว่า “อาจารย์” เพราะทำให้ความสัมพันธ์ระหว่างศิษย์กับครูสนิทสนมกันยิ่งขึ้น 

วัยเยาว์ เกิด ๕ ตุลาคม ๒๔๓๕ 

สถานที่เกิด อำเภอสัมพันธวงศ์  พระนคร 

บิดา-มารดา หลวงพิชัยวารี (เทียนสุข ประนิช) และนางเวียน ประนิช 

ครอบครัว สมรสกับนางทรงวิทยาศาสตร์ (สำอางค์ ประนิช) 

ถึงแก่กรรม เมื่อวันที่ ๓ คุลาคม ๒๕๑๔ 

การศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๔๓ โรงเรียนครูไทร ใกล้ ๆ บ้าน 

• พ.ศ. ๒๔๔๕ โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก จนจบชั้น ป. ๒ 

• พ.ศ. ๒๔๔๘ บวชเณรวัดสัมพันธวงศ์ ๘ เดือน 

• พ.ศ. ๒๔๔๙ โรงเรียนราชวิทยาลัย (ที่โรงเสี้ยงเด็ก) จนจบชั้น ม. ๖ 

• พ.ศ. ๒๔๕๒ – ๒๔๕๓ โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยจบจบชั้นมัธยมสูง 

• พ.ศ. ๒๔๕๔ ฝึกสอนที่โรงเรียนสวนกุหลาบ ๑ ปี 

• พ.ศ. ๒๔๕๕ ได้ทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกษาต่อประเทศอังกฤษ ที่มหาวิทยาลัยบริสตอล 

ศึกษาอยู่ประเทศอังกฤษ ๖ ปี 

การรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๖๒ ครูโรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ได้ยศรองอำมาตย์ตรี 

• พ.ศ. ๒๔๖๓ รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น หลวงทรงวิทยาศาสตร์ 

• พ.ศ. ๒๔๖๗ ได้เลื่อนยศเป็นอำมาตย์ตรีและยังคงสอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ อังกฤษ อยู่ที่โรงเรียนสวนกุหลาบ 

• พ.ศ. ๒๔๗๕ เปลี่ยนแปลงการปกครอง ย้ายไปเป็นอาจารย์ใหญ่ โรงเรียนวัดสุทธิวราราม อาจารย์ประจำกรมวิชาการ 

• พ.ศ. ๒๔๗๖ ข้าหลวงตรวจการศึกษาภาคอีสาน 

• พ.ศ. ๒๔๗๘ อาจารย์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 

• พ.ศ. ๒๔๗๙ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนวัดเบญจมบพิตร 

• พ.ศ. ๒๔๘๑ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• พ.ศ. ๒๔๘๒ ลาออกจากราชการสมัครเข้ารับการเลือกตั้งแต่ผิดหวัง 

• พ.ศ. ๒๔๖๘ สอนพิเศษโรงเรียนเดรียมอุดมศึกษาได้ ๓ ปี แล้วตาออกเพื่อพักผ่อน 

พระยาวิเศษศุภวัตร์ (เทศสุนทร กาญจนะศัพท์) (พ.ศ.๒๔๗๓–๒๔๘๐)

พ.ศ. ๒๔๗๔ ย้ายโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จพระยามาตั้ง ณ สถานที่ใหม่ใกล้วัดบางไส้ไก่ ถนนอิสรภาพ โดยแลกเปลี่ยนสถานที่กับโรงเรียนศึกษานารี เพราะโรงเรียนเดิมถูถนนจากสะพานพระพุทธยอดฟ้าตัดผ่านกลาง พระยาวิเศษศุภวัตร์ก่อสร้างตัวอาคารและพัฒนาบริเวณโรงเรียนใหม่ สร้างเรือนไม้แถวยาวหลังคาจาก หอนอน ๒ หลัง ตึกอำนวยการ (อาคาร ๑ ) หอประชุม และสระน้ำ 

วัยเยาว์ เกิด ๑๙ กุมภาพันธ์ ๒๔๓๕ สถานที่เกิด อำเภอสำราญราษฎว์ พระนคร 

บิดา-มารดา  นายเพียง และนางซิ่ว 

ครอบครัว พ.ศ. ๒๔๖๑ สมรสกับนางสาวศวงษ์ บัวทรัพย์ ถึงแก่อนิจกรรม 

เมื่อ ๓ พฤศจิการน ๒๙๘๓ 

การศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๔๒-๒๔๔๗ โรงเรียนวัดสหัศน์ 

• พ.ศ. ๒๔๔๘-๒๔๕๒ โรงเรียนสวนกุหลาบอังฤษ (สุนันทาและเทพศิรินทร์) สอบไล่ได้ชั้นอุดมพิเศษ 

• พ.ศ. ๒๔๕๔ รับทุนเล่าเรียนของกระทรวงธรรมการ ไปเขียนที่ประเทศอังกฤษ 

• พ.ศ. ๒๔๖๔ อุปสมบทที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วจำพรรษาที่วัดบวรนิเวศ ๑ พรรษา 

• พ.ศ. ๒๔๗๖ ศึกษาดูงานประเทศจีน 

กรรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๕๒ ครูฝึกหัดโรงเรียนราชวิทยาลัย (โรงเรียนสายสวลี สัณฐาคาร) 

• พ.ศ. ๒๔๕๓ ครูนึกหัดโรงเรียนสวนกุหลาบ 

• พ.ศ. ๒๔๕๙ อาจารย์โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ  รับพระราชทานบรรดาศักดิ์        เป็นหลวงวิเตษคุภวัคร์ ปสัดกรมโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเชีองใหม่ 

• พ.ศ. ๒๔๖๑ ผู้บังคับการโรงเรียนมหาดเล็กหลวงเชียงใหม่ รับพระราชทานบรรดาศักดิ์ เป็นพระวิเศษคศุภวัตร์ 

• พ.ศ. ๒๔๖๘ อาจารย์โรงเรียนราชวิทยาลัย 

• พ.ศ. ๒๔๖๙ อาจารย์โรงเรียนมหาดเล็กหลวงกรุงเทพ โรงเรียนมหาดเล็กได้เปลี่นชื่อเป็น “วชิราวุธ วิทยาลัย” ท่านรับหน้าที่เป็นผู้กำกับคณะ 

• พ.ศ. ๒๔๗๓ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• พ.ศ. ๒๔๗๔ ย้ายโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จ จากที่อยู่เดิม แลกพื้นที่กับโรงเรียนศึกษานารี 

• รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยาวิเศษศุภวัตร์ 

• พ.ศ. ๒๔๘๑ ประจำกรมศึกษาธิการ 

• พ.ศ. ๒๔๘๒ ปะจำกรมวิชาการ รับหน้าที่พิเศษเป็นกรรมการ ตรวจงานก่อสร้างโรงเรียนต่าง ๆ 

• พ.ศ. ๒๔๘๓ หัวหน้ากองกรีฑาสถานแห่งชาติ กรมพลศึกษาได้รับพระราชทานยศลูกเสือเป็นผู้ กำกับเอกเหล่าสมุทรเสนา

พระปวโรฬารวิทยา (ป๋อ เชิดชื่อ) (พ.ศ.๒๔๗๐–๒๔๗๒)

ปฏิบัติงานสืบต่อจากอาจารย์ใหญ่คนก่อน 

วัยเยาว์ เกิด ๒ เมษายน ๒๙๓๙ สถานที่เกิด อำเอจักรวรรดิ์ จังหวัดพระนคร บิดามารดา        นายหงิม และนางกลีบ เชิดชื่อ สมรสกับนางหาวถอม ควรแลวง ซึ่งต่อมาถึงแก่หรรม ลงโดยไม่มีบุตรด้วยกัน 

ครอบครัว สมรลดรั้งที่ ๒ กับนางสาวแถวขำเสถียร มีบุตรธิดา ๓ คน  ถึงแก่กรรมเมื่อวันที่ อ๙ มี นาคุม baax 

การศึกษา  

พ.ศ. ๒๔๕๕  สอบไล่ได้ชั้นมัธยมสูง (ม. ๘) ที่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 

พ.ศ. ๒๔๕๖ นักเวียนสอนโรงเรียนสวนกุหลาบวิกขาลัย 

พ.ศ. ๒๔๕๖ ได้ทุนกระทรวงธรรมการไปศึกษาต่อ ณ มหาวิทยาลัยบริสตอล ประเทศอังกฤษ         ได้ปริญญาวิทยาคาสตรบัณทิต (B.Sc.) 

การรับราชการ 

พ.ศ. ๒๔๖๓  อาจารย์โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 

พ.ศ. ๒๔๖๔  รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นหลวงปวโรฬารวิทยา 

พ.ศ. ๒๔๗๑ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

พ.ศ. ๒๔๗๒ รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระปวโรหารวิทยา 

พ.ศ. ๒๔๗๓  อาจารย์ใหญ่โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 

พ.ศ. ๒๔๗๕ พนักงานตรวจการศึกษาแขวงมัธยม 

พ.ศ. ๒๔๗๖ ลาออกจากราชการเพื่อรับพระราชทานบำนาญ 

เจ้าคณะ”คณะปวโรฬารวิทยา” ที่โรงเรียนวชิราวุธวิทยาลัยอยู่ ๓ ปี จึงลาออกพักผ่อนพ.ศ. ๒๔๘๗ ตั้งโรงเรียนอนุบาลชื่อ โรงเรียนปวโรฬารวิทยา 

พระยาประมวลวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง) (พ.ศ.๒๔๕๘–๒๔๗๐)

โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ย้ายไปสังกัดเป็นแผนกหนึ่งของโรงเรือนข้าราชการพลเรือน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปัจจุบัน) สถานที่เดิมจึงจัดตั้งเป็นโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พระยาประมวลวิชาพูล เป็นผู้เข้มแข็งและมีชื่อเสียงในการจัดโรงเรียนประจำ 

วัยเยาว์ เกิด ๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๓๐ สถานที่เกิด อำเภอยานนาวา จังหวัดพระนคร

บิดา-มารดา พระสาลียกรพิพัฒน์ (เฉลิม บุญหลง) และนางถนอม บุญหลง 

ครอบครัว สมรสกับนางสาวละม้าย เปล่งวานิช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ มีบุตร-ธิดารวม ๘ คน 

ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๑๗ 

การศึกษา  

• พ.ศ.๒๔๓๖ โรงเรีบางขวาง สาพาโรงเรียนคริสเตียน ธนบุรี 

• พ.ศ.๒๔๔๑ โรงเรียนอัสลัมชัญ สอบได้ชั้น ๓ 

• พ.ศ.๒๔๔๔-๒๔๔๖ โรงเรียนสายสวลีสัณฐาคาร จนโรงเวียนถูกยุบ 

• พ.ศ.๒๔๔๖-๒๔๔๗ ไรงเรียนสวนกุหลาบและโรงเรียนสวนกุหลาบอังกฤษตามลำดับ 

• พ.ศ.๒๔๔๘-๒๔๔๙ โรงเรือนราชวิทยาลัย สอบได้ประโคมัชยมพิเศษ (ม. ๖) 

• พ.ศ.๒๔๕๐-๒๔๕๔ ได้ทุนกระทรวงรวรมกาไปเรียนวิชาครูที่ประเทศอังกฤษ 

ณ มหาวิทยาลัยบริสตอล 

การรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๔๙ นักเรียนครูโรงเรืยนประถมมหาพฤณาราม 

• พ.ศ. ๒๔๕๔ ครูโรงเรียนมหาดเล็กหลวงอาจารย์โรงเรียนวัดปทุมคงคา 

• พ.ศ. ๒๔๔๙ อาจารย์โรงเรียนวัดเทพศิรินทร์ 

• พ.ศ. ๒๔๕๘-๒๔๗๐ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้ยศอำมาตย์เอก พระยาประมวญวิชาพูล 

• พ.ศ. ๒๔๗๑ เจ้ากรมตำรา กระทรวงธรรมการ 

• พ.ศ. ๒๔๗๓-๒๔๗๕ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนเบญจมบพิตร 

• พ.ศ. ๒๔๗๕  เป็นกรรมการคณะราษฎร์ ซึ่งมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นประธานรัฐมนตรี กระทรวงธรรมการ 

• พ.ศ. ๒๔๗๖ หัวหนแผนกสถิติและรายงาน (เทียบเท่าปลัดกระทรวง) 

• พ.ศ. ๒๔๗๗ หัวหน้าทองวิชาการ 

• พ.ศ. ๒๔๘๒ อธิบดีกรมสามัญศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๘๔ ออกจากราชการ รับพระราชทานบำนาญ 

ขุนวิเทศดรุณการ (พ.ศ.๒๔๔๘–๒๔๕๘)

ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น พระยาราชสีมาจารย์ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูฝั่งตะวันตก เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ฝั่งตะวันตกในปี พ.ศ.๒๔๕๐ มีสถานภาพเป็นโรงเรียนประจำ โดยเล็งเห็นว่าโรงเรียนประจำสามารถฝึกอบรมความเป็นครูได้อย่างแท้จริง 

วัยเยาว์ ๒๓ กุมภาพันธ์ ๒๔๒bสถานที่เกิด พระนครชื่อเดิมกวย กนิษฐานนท์ 

บิดา-มารดา ขุนประเสริฐอักษร (พึ่ง กนิษฐานนท์) และ นางเชย กนิษฐานนท์ 

การศึกษา 

• พ.ศ.๒๔๔๖ วุฒิครูประกาศนียบัตรมัธยมพิเศษ 

การรับราชการ

• ครูโรงเรียนวัดบพิตรภิมุข 

• ครูโรงเรียนข้ราชการพลเรือน 

• ครูโรงเวียนฝึกหัดดฝั่งตะวันดก (บ้านสมเด็จๆ) ปี พ.ศ. ๒๙ ๔d 

• ทำหารแทนนายตรวจแขวงตะวันตกเหนือ 

• ธรรมการมณทลนครราชสีมา 

• ส่วนบรรดาศักดิ์นั้นได้เลื่อนขึ้นเป็นหลวงวิเทศดรุณการ พระวิเทศดรุณการ ตามสำคับ และได้เลื่อนขึ้นเป็นพระยราชสีมาจารย์ เมื่อปี พ.ศ. ๒๙๗๑ 

พระบำเหน็จวรญาณ (เหม ผลพันธิน) (พ.ศ.๒๔๔๖– ๒๔๔๗)

ต่อมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นพระยาโอวาทวรกิจ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดครูฝั่งตะวันตก ผลิตครูประมาณ (ป.ป.) และครูมูล (ป.) เพื่อเตรียมครูให้พอเพียงในส่วนภูมิภาค ให้ความสะดวกแห่นักเรียนซึ่งมาจากหัวเมือง โดยให้กินอยู่ประจำในโรงเรียน 

วัยเยาว์ เกิด ๑๕ ขันวาคม ๒๔๒๓ สถานที่เกิด หลังวัดราชนัดดา พระนคร

บิดา-มารดา  หลวงธรรมานุวัติจำนง (จุ้ย ผลพันธิน) และ นางธรรมานุวัติจำนง (เพิ้ง ผลพันธิน) 

ครอบครัว ไม่พบข้อมูล ถึงแก่อนิจกรรม ปี พ.ศ. ๒๔๘๕ 

การศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๓๔ สอบไล่ได้ประโยคสอง จากโรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ ในพระบรมมหาราชวัง 

• พ.ศ. ๒๔๓๕-๒๔๓๗ โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ สอบไล่ได้ประกาศนียบัตรประโยคครูประถม 

(เป็นนักเรียนที่จบรุ่นแรก) 

• พ.ศ. ๒๔๓๗ อุปสมบท ณ วัดเทพริดาราม ๑ พรรษา 

การรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๓๗ ครูสอนภาษาไทย โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ 

• พ.ศ. ๒๔๔๓ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนสายสวลีสัณฐาคาร อาจารย์พิเศษโรงเรียนกรมแผนที่ สระปทุม 

• พ.ศ. ๒๔๔๕ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนมัธยมสูงเทพคิรินทร์ 

• พ.ศ. ๒๔๔๖ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนฝึกหัดรู ฝั่งตะวันตก ณ โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยา 

• พ.ศ. ๒๔๕๐ ผู้ตรวจการโรงเรียนแขวงม้ชมของกรมศึกษาธิการ ผู้อำนวยการโรงเรียนแพทยาลัย 

• อาจารย์ใหญ่โรงเรียนมหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาสับ) ผู้อำนวยการโรงเรียนพาณิชยการ 

• พ.ศ. ๒๔๕๗ พนักงานสอบไล่ กรมศึกษาธิการข้าหลวงตรวจการศึกษาภาคหนึ่ง อยุธยา นครไซยศรี  ราชบุรี ปราจีนบุรี และจันทบุรี 

• พ.ศ. ๒๔๖๐ เจ้ากรมวิสามัญศึกษา จัดอาชีวศึกษและโรงเรียนสตรี  

• ปลัดทูลฉลองกระทรวงศึกษาธิการ 

• พ.ศ. ๒๔๖๘ ลาออกจากราชการ รับพระราชทานบำนาญ