ข้อมูลพื้นฐานส่วนตัว
- ชื่อ ว่าที่ ร.ต. สุพล นามสกุล วุฒิเสน
- เกิดวันที่ ๒ เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๖
- ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ๑๙/๕๓ หมู่ที่ ๗ ตำบล คลองหลวงแพ่ง
อำเภอ เมือง จังหวัด ฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐
- สถานที่ทำงานปัจจุบัน ประสานงานกับหลายมหาวิทยาลัย (ผู้ทรงคุณวุฒิมหาวิทยาลัยธนบุรี กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ฯลฯ)
- ประวัติการทำงาน (ระบุปี พ.ศ.)
- พ.ศ. ๒๕๑๐-๒๕๒๘ อาจารย์โรงเรียนฝึกหัดครูอุดรธานี
วิทยาลัยครูอุดรธานี
- พ.ศ.๒๕๒๘-๒๕๓๒ อธิการ วิทยาลัยครูสุรินทร์
- พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๔๖ อธิการ , อธิการบดี วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา
สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา
สถาบันราชภัฏราชนครินทร์
- พ.ศ.๒๕๔๖-๒๕๕๕ อธิการบดี สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
(เป็นผู้บริหารอย่างต่อเนื่อง ๒๕๒๘ – ๒๕๕๕ รวม ๒๘ ปี)
ด้านวิชาการ
๑. ๑ คุณวุฒิทางการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๒๗ Ph.D. (International/Intercultural Education). The Florida State University, USA. 1984
พ.ศ. ๒๕๑๖ M.A. (Comparative International Development Planning in Education), Stanford University, USA. 1973
พ.ศ. ๒๕๑๓ M.A.T. (Social / Asian Studies),University of the Philippines. Quezon City The Philippines, 1970
พ.ศ. ๒๕๐๗ ปริญญาตรี กศ.บ. วิทยาลัยวิชาการศึกษา ประสานมิตร (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ) อื่นๆ…
วุฒิบัตรการฝึกอบรม : สถาบันพระปกเกล้า ๒๕๔๔ การกำหนดยุทธศาสตร์รองรับการเปลี่ยนแปลงจากการการศึกษาและการปฏิรูประบบราชการ
วุฒิบัตรการฝึกอบรม : ทบวงมหาวิทยาลัย ๒๕๔๓ การพัฒนาผู้บริหารระดับสูงของสถาบันอุดมศึกษา
Certificate : World University President Summit Bangkok 2006
Certificate :Queensland Higher Education Rajabhat Presidents Program, Australia, 2002
Certificate :Institutional Management in Higher Education, UNESCO/ SEAMEO, 2000
Certificate :Presidential Seminar on the Presentation of the Honorary Doctoral Award to His Royal Highness the Crown Prince, Edith Cowan University, Australia, 1997
Certificate :Graduate Training Program, Edith Cowan University, Australia, 1995
Certificate : Chunga-Seminar and Korea Study Tour, Human Resource Development Project, Chung-Ang University, Seoul, Korea, 1-5 june 1994
Certificate :Entrepreneurship Educational, Southern Illinois University at Carbondale, 1988
Certificate : Presidential Seminar, Western Carolina University, USA, 1986
Certificate : Planning for Integrated Regional Development, UNCRD Nagoya, Japan, 1977
๑.๒ ผลงานทางวิชาการ (ตำรา / บทความทางวิชาการ / งานวิจัย)
ตำรา / บทความทางวิชาการ / งานวิจัย | ชื่อวารสารที่ตีพิมพ์ (เฉพาะบทความ / งานวิจัย) | พ.ศ. |
๑. TRENDS Model | World University President Summit Bangkok | ๒๕๔๙ |
๒.ทิศทางวิสัยทัศน์และประเด็นสำคัญของการพัฒนา การศึกษาระดับอุดมศึกษา | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ๒๕๔๓ |
๓.พันธกิจของการศึกษาระดับสูงกว่ามัธยมศึกษาต่อการพัฒนาประเทศ | วารสารคุรุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | ๒๕๔๒ |
๔.อาจารย์กับกระบวนการตื่นตัวทางวิชาการ | ราชภัฏราชนครินทร์ | ๒๕๔๒ |
๕.ราชภัฏราชนครินทร์อุดมศึกษาเพื่อการพัฒนา | มติชน | ๒๕๔๒,๑๔ ก.พ. |
๖.ปฏิบัติการต่อเนื่องโครงการ่วมมือกับควีนแลนด์ | ราชภัฏฉะเชิงเทรา | ๒๕๔๑ |
๗.Cooperation Among Higher Ed. Inst ฯลฯ | UNESCO, BANGKOK | ๒๕๔๑ |
๘.กศ.บป.กับการพัฒนาคนทำงาน | สำนักงานสภาสถาบันราชภัฏ | ๒๕๔๐ |
๙.Joint Programs Thai- Australian University | AVCC- Australia | ๒๕๓๙ |
๑๐.Innovative Approaches Towards Youth Problem | UNICEF, BANGKOK | ๒๕๓๘ |
๑๑. บทบาทสถาบันการศึกษาในโครงการอีสานเขียว | มหาวิทยาลัยขอนแก่น | ๒๕๓๗ |
๑๒.การควบคุมการศึกษาของไทยฯลฯ | คุรุปริทัศน์ | ๒๕๓๖ |
๑๓. การวิจัยในสภาพธรรมชาติ ฯลฯ | วิจัยสนเทศ, กศ.น. | ๒๕๓๕ |
๑๔.การตวจสอบและชี้นำโดยนักวิชาการ | วิทยาลัยครูสุรินทร์ | ๒๕๓๔ |
๑๕.วิทยาลัยครูในฐานะปฏิบัติการสำคัญทางวัฒนธรรม | คุรุปริทัศน์ | ๒๕๓๓ |
๑๖. The working condition for Civil –officer ฯลฯ | NCC-Norway | ๒๕๓๒ |
๑๗.ความเติบโตของวิชาชีพครู ฯลฯ | คุรุปริทัศน์ | ๒๕๓๐ |
๑๘.เงื่อนไขแนวปฏิบัติของนักวิชาการท้องถิ่น | บัณฑิตวิทยาลัย | ๒๕๓๑ |
๑๙.ความดีความชอบที่ส่งเสริมการเป็นสถาบันอุดมศึกษา | คุรุปริทัศน์ | ๒๕๒๘ |
๒๐. ความเจริญทางการศึกษาต้องปรับให้ทันปัญหา | คุรุปริทัศน์ | ๒๕๒๗ |
๒๑. The Sarvodaya Movement | UNESCO, BANGKOK | ๒๕๒๖ |
๒๒. Experiences in developing Inst-Materials | UNESCO, BANGKOK | ๒๕๒๕ |
๒๓. Exploring New Direction in Teacher Education | UNESCO, BANGKOK | ๒๕๒๔ |
๒๔. กรมหลวงผู้เป็นอัจฉริยะในการเป็นนักการศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น | อาทิตยคุณธรรมของการศึกษาไทย สกอ. | ๒๕๕๑ |
๑.เงื่อนไขสำคัญในหมู่บ้านต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาเยาวชนในพื้นที่ชนบทยากจนของเจ้าหน้าที่ของรัฐ | สภาวิจัยแห่งชาติ | ๒๕๒๘-๒๕๓๙ |
๒.ครูกับการพัฒนาชนบท : กรณีโครงการอบรมครูประจำการ วิทยาลัยครูในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ | The Internationnal Dev’t research Centre (IDRC) | ๒๕๓๑ |
๓. Teachers College Extension Centre in Rural Areas as Means to Practical Educationnal Reform : A Preliminary Study | UNCRD – Nagoya | ๒๕๒๐ |
๔.Effective Change –Agents of Rural Areas in Udorn and Nongkai Provinces | สภาการศึกษาแห่งชาติ NEC | ๒๕๓๓ |
๕.Linking of Formal and Non –formal Ed. Experiment Project in NE- Thailand | UNESCO, BANGKOK | |
๖.อิทธิพลของตัวการในการเปลี่ยนแปลงสังคมรายกรณีชนบท อุดรธานี | สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ | ๒๕๒๙ |
๗. The Teachers Training Regional Network and Educational Innovation | FSU, Ford Foundation ,IDRC | ๒๕๒๗ |
๑.๓ ตำแหน่งทางวิชาการ (ถ้ามี)
ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์
ศาสตราจารย์พิเศษ Faculty of Computing, Health and Science , Edith Cowan University, Perth, Australia
ศาสตราจารย์พิเศษ Tianjin Normal University, Tianjin, PR.China
ศาสตราจารย์พิเศษ Chamroeun University of Technology, Phnom Penh, Cambodia
๒. ประสบการณ์ด้านการบริหาร
กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย (ปัจจุบัน )
กรรมการสภาวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี (ปัจจุบัน)
กรรมการสภามหาวิทยาลัยธนบุรี พ.ศ. 2556 ( ปัจจุบัน)
บริหารสถานศึกษา
อธิการบดี สถาบันราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พ.ศ.๒๕๕๕
(จากปี ๒๕๔๖)
อธิการ วิทยาลัยครูฉะเชิงเทรา สถาบันราชภัฏฉะเชิงเทรา
อธิการบดี สถาบันราชภัฏราชนครินทร์ พ.ศ.๒๕๔๖ (จากปี๒๕๓๒)
อธิการ วิทยาลัยครูสุรินทร์ พ.ศ.๒๕๓๒ (จากปี๒๕๒๘)
ประธานอธิการบดี มหาวิทยาลัยราชภัฏ พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๑
อนุกรรมาธิการ การอุดมศึกษา, วุฒิสภา พ.ศ.๒๕๕๑
กรรมาธิการวิสามัญร่างพรบ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ, สภาผู้แทนราษฎร พ.ศ.๒๔๔๖
บริหารงานอุดมศึกษา
๑ | อนุกรรมการด้านนโยบายและแผนอุดมศึกษา | สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา | ๒๕๕๑ |
๒ | อนุกรรมาธิการการอุดมศึกษา | สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา | ๒๕๕๑ |
๓ | ประธานอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ | มหาวิทยาลัยราชภัฏ | ๒๕๕๐ |
๔ | กรรมาธิการวิสามัญร่างพ.ร.บ. มหาวิทยาลัยราชภัฏ | สภาผู้แทนราษฎร | ๒๔๔๗ (จากปี ๒๔๔๖) |
๕ | กรรมการต่างๆกรมการฝึกหัดครู สถาบัน ราชภัฏและหน่วยงานราชการอื่นๆทุกระดับตามคำเชิญ |
- งานบริการสังคม
2557 ประธานมูลนิธิสถาบันราชภัฏราชนครินทร์ในพระอุปถัมภ์ ฯ
๒๕๕๑- ปัจจุบัน ทูตสันติภาพของ Interreligious and International Federation for World – Peace
Thailand
๒๕๔๙ สมาชิกสมัชชาแห่งชาติ(ตามระเบียบคณะกรรมการกำกับดูแลการสรรหาฯ)
๒๕๔๘ กรรมการสรรหา คณะกรมการ ป.ป.ช.
๒๕๓๘ ประธานกรรมการพัฒนาคลองแสนแสบ (ส่วนต่อเนื่องไปฉะเชิงเทรา คำสั่ง ศธ.)
๒๕๓๗ ประธานกรรมการในการจัดอบรมครูประจำการประถมศึกษา (คำสั่ง ศธ.)
๔. รางวัลและเกียรติคุณที่ได้รับ
๑.ได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยานิวัฒนาฯ ทรงให้ตามเสด็จหลายครั้ง ถวายรายงานร่วมเขียนหนังสือ ๑ เล่ม ได้รับพระประทานนาม “ สถาบันราชภัฏราชนครินทร์” อันยิ่งกว่ารางวัล และเกียรติคุณใดๆ
๒. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ประถมาภรณ์ช้างเผือก
๓. เครื่องราชอิสริยาภรณ์ชั้นสายสะพาย Sahametrei Grand cros ของราชอาณาจักรกัมพูชา
๔. ศิษย์เก่าดีเด่น วิทยาลัยครูอุดรธานี,วิทยาลัยวิชาการศึกษา (มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร)
ดูประวัติเพิ่มเติม : อนุสรณ์ งานพระราชทานเพลิงศพ รศ.ดร.สุพล วุฒิเสน1