พระยาประมวลวิชาพูล (วงศ์ บุญ-หลง) (พ.ศ.๒๔๕๘–๒๔๗๐)

โรงเรียนฝึกหัดอาจารย์ย้ายไปสังกัดเป็นแผนกหนึ่งของโรงเรือนข้าราชการพลเรือน (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยปัจจุบัน) สถานที่เดิมจึงจัดตั้งเป็นโรงเรียนมัธยมบ้านสมเด็จเจ้าพระยา พระยาประมวลวิชาพูล เป็นผู้เข้มแข็งและมีชื่อเสียงในการจัดโรงเรียนประจำ 

วัยเยาว์ เกิด ๘ กุมภาพันธ์ ๒๔๓๐ สถานที่เกิด อำเภอยานนาวา จังหวัดพระนคร

บิดา-มารดา พระสาลียกรพิพัฒน์ (เฉลิม บุญหลง) และนางถนอม บุญหลง 

ครอบครัว สมรสกับนางสาวละม้าย เปล่งวานิช เมื่อ พ.ศ. ๒๔๕๗ มีบุตร-ธิดารวม ๘ คน 

ถึงแก่อนิจกรรม เมื่อวันที่ ๑๒ กันยายน ๒๕๑๗ 

การศึกษา  

• พ.ศ.๒๔๓๖ โรงเรีบางขวาง สาพาโรงเรียนคริสเตียน ธนบุรี 

• พ.ศ.๒๔๔๑ โรงเรียนอัสลัมชัญ สอบได้ชั้น ๓ 

• พ.ศ.๒๔๔๔-๒๔๔๖ โรงเรียนสายสวลีสัณฐาคาร จนโรงเวียนถูกยุบ 

• พ.ศ.๒๔๔๖-๒๔๔๗ ไรงเรียนสวนกุหลาบและโรงเรียนสวนกุหลาบอังกฤษตามลำดับ 

• พ.ศ.๒๔๔๘-๒๔๔๙ โรงเรือนราชวิทยาลัย สอบได้ประโคมัชยมพิเศษ (ม. ๖) 

• พ.ศ.๒๔๕๐-๒๔๕๔ ได้ทุนกระทรวงรวรมกาไปเรียนวิชาครูที่ประเทศอังกฤษ 

ณ มหาวิทยาลัยบริสตอล 

การรับราชการ 

• พ.ศ. ๒๔๔๙ นักเรียนครูโรงเรืยนประถมมหาพฤณาราม 

• พ.ศ. ๒๔๕๔ ครูโรงเรียนมหาดเล็กหลวงอาจารย์โรงเรียนวัดปทุมคงคา 

• พ.ศ. ๒๔๔๙ อาจารย์โรงเรียนวัดเทพศิรินทร์ 

• พ.ศ. ๒๔๕๘-๒๔๗๐ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้ยศอำมาตย์เอก พระยาประมวญวิชาพูล 

• พ.ศ. ๒๔๗๑ เจ้ากรมตำรา กระทรวงธรรมการ 

• พ.ศ. ๒๔๗๓-๒๔๗๕ อาจารย์ใหญ่โรงเรียนเบญจมบพิตร 

• พ.ศ. ๒๔๗๕  เป็นกรรมการคณะราษฎร์ ซึ่งมีพระยามโนปกรณ์นิติธาดา เป็นประธานรัฐมนตรี กระทรวงธรรมการ 

• พ.ศ. ๒๔๗๖ หัวหนแผนกสถิติและรายงาน (เทียบเท่าปลัดกระทรวง) 

• พ.ศ. ๒๔๗๗ หัวหน้าทองวิชาการ 

• พ.ศ. ๒๔๘๒ อธิบดีกรมสามัญศึกษา 

• พ.ศ. ๒๔๘๔ ออกจากราชการ รับพระราชทานบำนาญ